วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 11 ปัญหาสังคมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และกฎหมาย

ปัญหาสังคมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และกฎหมาย      
       เข้าใจและรู้แนวทางในการแก้ปัญหาสังคมทีเกิดจากเทคโนโลยี, การใช้จริยธรรมและกฎหมายในการแก้ปัญหาสังคม, กรณีตัวอย่างทีเกียวกับอาชญากรรมและกฎหมายไอที

ปัญหาสังคมที่เกิดจากเทคโนโลยีสนเทศ
1.1 มุมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครืองมือที่มีไว้เพือให้มนุษย์บรรลุวัตถุประสงค์
เมื่อมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครืองมื่อเครืองมือบางอย่างก็มีประโยชน์มาก บางอย่างก็มีประโยชน์น้อย และบางอย่างก็ไม่มีประโยชน์ การเลือกใช้เครืองมือจะส่งผลต่อวิธีการทํางานของมนุษย์ เช่น พฤติกรรมในการเขียนของผู้ใช้โปรแกรมประมวลคําจะแตกต่างไปจากผู้ใช้กระดาษและปากกา เป็นต้น
       ภายใต้มุมมองในลักษณะนี้ เราจะต้องวิเคราะห์และทําความเข้าใจถึงผลกระทบทางสังคมทีจะเกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครืองมือในชีวิตประจําวัน ยกตัวอย่าง เช่น เราอาจต้องการหาคําตอบว่า การทีมนุษย์ใช้โทรศัพท์มือถือ ได้ทําให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเปลียนแปลงไปอย่างไร
ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือไม่มีความจําเป็นจะต้องทําการจดจําหมายเลขโทรศัพท์ ของผู้ทีต้องการติดต่อด้วยอีกต่อไป หรือเราอาจต้องการหาคําตอบว่า อินเทอร์เน็ตมีผลอย่างไรต่อการศึกษา หรือคําตอบจากคําถามทีว่า โทรทัศน์วงจรปิดกระทบกับสิทธิส่วนบุคคลหรือไม่
       ในมุมมองทีว่าเทคโนโลยีเป็นเครืองมือทีมีไว้เพือให้มนุษย์บรรลุวัตถุประสงค์นี้ ได้ถูกวิพากษ์ว่า
เทคโนโลยีจะเป็นตัวกําหนดการคิดและการกระทําของมนุษย์ เช่น การใช้แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์
จะส่งผลต่อความสามารถในการเขียนตัวหนังสือของมนุษย์ เป็นต้น

1.2 มุมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและสังคมต่างก็มีผลกระทบซึงกันและกัน
       ภายใต้มุมมองแบบนี มีความเห็นว่าสังคมส่งผลกระทบต่อเทคโนโลยี ทั้งนี้โดยอาศัยแรงขับเคลื่อนทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจเป็นเหตุปัจจัยในการออกแบบเทคโนโลยี ยกตัวอย่างเช่น
การออกแบบให้คอมพิวเตอร์สามารถทํางานหลาย ๆ งานในขณะเดียวกันได้ เป็นต้น ซึ่งเป็นผลมาจากประเด็นทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ประหยัดทรัพยากรของหน่วยประมวลผลกลาง หรืออีกตัวอย่างหนึงได้แก่
บทที่ กระแสความต้องการการสือสารทีรวดเร็วทัวถึงได้ผลักดันให้เกิดอินเทอร์เน็ต ปัญหาสังคมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และกฎหมาย 7 จาก
       ในขณะเดียวกันเทคโนโลยีสารสนเทศก็ได้ส่งผลกระทบต่อสังคมเช่นกัน การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต ทําให้รูปแบบการติดต่อสือสารของสังคมเปลียนแปลงไป ผู้คนจํานวนมากจะติดต่อกันด้วยอีเมลแทนการเขียนจดหมาย มีการติดต่อซือขายผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการใช้ล่อลวงกันโดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสือมากขึ้น ภายใต้มุมมองในลักษณะนีทังเทคโนโลยีสารสนเทศและสังคมต่างก็มีอิทธิพลซึงกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิงการพัฒนาเปลียนแปลงของเทคโนโลยีก็เป็นผลมาจากกระบวนการทีซับซ้อนและลึกซึงทางสังคมเช่นกัน

1.3 มุมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นกลไกในการดํารงชีวิตของมนุษย์
       ภายใต้มุมมองในลักษณะนีจะมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะเป็นกลไกสําคัญในการกําหนดชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ยกตัวอย่างเช่น การติดต่อสือสารของมนุษย์ จะถูกกําหนดว่าเป็นสิงทีต้องพึงพาเทคโนโลยีซึ่งในโลกนีก็มีเทคโนโลยีการสือสารอยู่หลายรูปแบบ แต่เทคโนโลยีทีมีความเสถียรจะเป็นทางเลือกและมนุษย์จะใช้เป็นกลไกในการดํารงชีวิต ดังเช่น คนทีมีและใช้โทรศัพท์มือถือจะแตกต่างไปจากคนทีไม่มีโทรศัพท์มือถือติดตัว การทีมีโทรศัพท์มือถือแสดงให้เห็นว่าเป็นคนทีสามารถติดต่อได้สะดวกและเข้าถึงได้ง่ายกว่าคนทีไม่มีโทรศัพท์มือถือติดตัว จะเห็นได้ว่ากลไกการดํารงชีวิตของคนทีใช้โทรศัพท์มือถือและไม่ใช้โทรศัพท์มือถือนันแตกต่างกัน เช่น เดียวกัน กลไกในการดํารงชีวิตของสังคมทีใช้อินเทอร์เน็ต

พิจารณาปัญหาสังคม
       จากมุมมองต่าง ๆ ทังสามทีกล่าวมาแล้วข้างต้น เราสามารถนํามาพิจารณาปัญหาสังคมทีอาจจะเกิดขึนกับเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ตลอดจนใช้สังเคราะห์สร้างความเข้าใจต่อปัญหาทางสังคมต่าง ๆ ที่เกิดขึนแล้วในสังคม ทั้งนีก็เพือประโยชน์ในการหาทางป้องกัน แก้ไข หรือบรรเทาปัญหาสังคมทีเกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อไป อย่างไรก็ตามการทีตัดสินว่า กรณีใดเป็นสาเหตุของปัญหาสังคมนัน ไม่ใช่เรืองง่ายเช่นเดียวกันกับวิธีการแก้ปัญหาเหล่านั้น ในแต่ละกรณีนันจะมีความซับซ้อนทีแตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น การแก้ปัญหาเด็กติดเกมส์ ซึงเป็นปัญหาสําคัญปัญหาหนึงในปัจจุบัน วิธีการแก้ปัญหาอาจจะมีหลากหลาย แต่วิธีการทียังยืนกว่าก็คือการสร้างความเข้มแข็งให้กับสมาชิกของสังคมทีจะไม่ลุ่มหลงกับเรื่องหนึ่งเรืองใดมากเกินไป นอกจากนันปัญหาของสังคมเหล่านี้ยังมีความสัมพันธ์กับเรืองของจริยธรรม วัฒนธรรม และการบังคับใช้กฎหมาย หรือมาตรฐานปฏิบัติแห่งสังคมนันๆ อีกด้วยก็จะแตกต่างจากสังคมอืนทีไม่ใช้อินเทอร์เน็ต เป็นต้น

ปัญหาสังคมทีเกิดจากเทคโนโลยีสนเทศ
- ปัญหาเด็กติดเกมส์
- ปัญหาละเมิดลิขสิทธิ
- ปัญหาสังคมเสือมโทรมจากการใช้เทคโนโลยีในทางทีผิด
- ปัญหาอาชญากรรมต่อชีวิตทีเกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ปัญหาการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล เช่น คุกกี
- การนําภาพบุคคลมาตกแต่งดัดแปลงเพือให้เกิดการเข้าใจผิด ฯลฯ

แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1 ใช้แนวทางสร้างจริยธรรม (Ethics)
- ระมัดระวังไม่สร้างความเดือดร้อนเสียหายต่อผู้อืน
- ตัง้ใจทํากิจกรรมจะเสริมสร้างคุณงามความดี และเป็นประโยชน์อยู่เสมอ
- ทําการศึกษาหาความรู้ว่ากิจกรรมประเภทใดเป็นสิงดีมีประโยชน์ต่อเพือนมนุษย์ และกิจกรรมประเภทใดสามารถสร้างความเดือดร้อนให้กับผู้อืนได้

2.2 สร้างความเข้มแข็งให้กับตนเอง
- พึงรําลึกอยู่เสมอว่า ในสังคมของเราทุกวันนียังมีคนไม่ดีปะปนอยู่มากพอสมควร
- หากผู้ใช้เทคโนโลยีเหล่านีในทางทีไม่ดี เทคโนโลยีก็ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมทีไม่ดีไม่เป็นทีพึงปรารถนาให้รุนแรงขึนได้
- ไม่ลุ่มหลงต่อกิจกรรมหนึงกิจกรรมใดจนมากเกินไป

2.3ใช้แนวทางการควบคุมสังคมโดยใช้วัฒนธรรมทีดี
- วัฒนธรรมทีดีสามารถควบคุมและแก้ปัญหาสังคมได้
- เช่น การให้เกียรติซึงกันและกัน ยกย่องในผลงานของผู้อืน
- ผู้ใช้ข้อมูลสารสนเทศของผู้อืนพึงให้เกียรติแหล่งข้อมูล ด้วยการอ้างอิงถึง (citation) เมือนําผลงานของผู้อืนมาใช้ประโยชน์

2.4 การสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคมชุมชน
       พึงตระหนักถึงภัยอันตรายทีมาพร้อมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและหาทางป้องกันภัยอันตรายเหล่านัน เช่น
- การติดตังระบบเพือกลันกรองข้อมูลทีไม่เหมาะสมกับเด็กและเยาวชน
- การให้ความรู้เรืองภัยอันตรายจากอินเทอร์เน็ตต่อสังคม
- การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภัยอันตรายทีมากับ เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การค้นคว้าวิจัยเพือหาความรู้ทีเกียวข้องเพิมเติม

2.5 ใช้แนวทางการเข้าสู่มาตรฐานการบริหารจัดการการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
       มาตรฐานทีเกียวข้องกับการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยลดภัยอันตรายจากเทคโนโลยีสารสนเทศได้ เช่น มาตรฐานการรักษาความมันคงปลอดภัยในการประกอบ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ISO/IEC 17799) มีการกําหนดเรืองความมันคงปลอดภัยทีเกียวข้องกับ
- บุคลากร
- ความมันคงปลอดภัยทางด้านกายภาพ
- สิงแวดล้อมขององค์กร
- การควบคุมการเข้าถึง
- การปฏิบัติตามข้อกําหนดทางด้านกฎหมาย ฯลฯ

2.6 ใช้แนวทางการบังคับใช้ด้วยกฎ ระเบียบ และกฎหมาย
- เช่น การปฏิบัติตามข้อกําหนดทางลิขสิทธิ (Copyright) ในการใช้งานทรัพย์สินทางปัญญา
- การป้องกันข้อมูลส่วนตัวของพนักงาน เป็นต้น

ประเด็นพิจารณาการใช้จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาสังคมที่เกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.1ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และทฤษฎีเรืองจริยธรรม ตัวอย่างเช่น
- ข้อถกเถียงทีเกียวข้องกับผลกระทบจากการใช้วงจรปิด
- การใช้คุกกีในอินเทอร์เน็ต ต่อสิทธิในเรืองความเป็นส่วนตัวของมนุษย์
- ข้อถกเถียงในเรืองผลกระทบจากความแตกต่างในเรืองชนชันทางสังคม ต่อสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล เช่น โอกาสในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของนักเรียนในชนบท
- ข้อถกเถียงในลักษณะของแนวนโยบายในการคุ้มครองผู้ผลิตสินค้าดิจิตอลทีมีผลต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิงกําลังการซือและการใช้สินค้าไอที เป็นต้น

3.2 เทคโนโลยีสารสนเทศกับจริยธรรมและการเมือง ตัวอย่างเช่น
- การสร้างภาพของพระเอกหรือผู้ร้ายในภาพยนตร์
- การเกิดของกระแสโอเพนซอร์สเพือคานอํานาจกับซอฟต์แวร์ให้สิทธิการใช้
- เครืองเอทีเอ็ม ทีออกแบบมาเพือให้ใช้ได้กับคนปกติได้ แต่ไม่สามารถใช้งานได้กับคน ตาบอด หรือคนพิการทีอยู่บนรถเข็นหรือคนทีมีปัญหาในการจํา

3.3 เทคโนโลยีสารสนเทศกับจริยธรรมและความเป็นมนุษย์
- ทัศนคติ อารมณ์ ความรู้สึกทีมนุษย์มี ก่อให้เกิดการรวมกลุ่ม หรือมีการสร้างสังคมรูปแบบเสมือนจริง ในกลุ่มของผู้สนใจ หรือมีแรงปรารถนา (passion) คล้ายคลึงกัน เรียกว่า โลกเสมือนจริง
(virtuality)
- กรณีของการเปลียนแปลงสภาพสังคมในเรืองของโลกเสมือนจริง (virtuality)
แยกกลุ่มตามความสนใจเป็น
       * ชุมชนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต (Cyber Community)
       * การศึกษาแบบเสมือนจริง (Virtual Education)
       * การมีมิตรภาพแบบเสมือนจริง (Virtual Friendships)
       * องค์กรแบบเสมือนจริง (Virtual Organizations)
       * และอืนๆ
- สิงทีอาจเกิดขึนได้ในชุมชนเหล่านี ซึงอาจจะนําไปสู่การล่อลวงได้ ตัวอย่างเช่น
       * คนอ้วนอาจถูกทําให้เข้าใจว่าเป็นคนหุ่นดี

การใช้กฎหมายเพื่อแก้ปัญหาสังคมทีเกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การเกิดขึนของอินเทอร์เน็ตทําให้รูปแบบของปัญหาสังคม ที่เกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศมีความหลากหลายและยุ่งยากมากขึน
- จําเป็นทีต้องมีกลไกในรูปของกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ใช้บังคับ
- ในประเทศไทยได้มีการปฏิรูปกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ทีระบุว่า“รัฐจะต้อง ...
พัฒนาเศรษฐกิจท้องถินและระบบสาธารณูปโภคตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทัวถึงและเท่าเทียมกันทัวประเทศ”
- บรรดาองค์กรระหว่างประเทศต่างเข้ามามีบทบาทในการจัดประชุมเจรจา เพือจัดทํานโยบายและตัวบทกฎหมายด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
- ดังนันจึงถือเป็นเรืองสําคัญทีประเทศไทยจะต้องจัดทํา กฎหมายทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นโครงสร้างพืนฐานในการพัฒนาประเทศ
- ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ในฐานะสํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการเทคโนโลยีแห่งชาติ เป็นแกนกลางในการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศพืนฐาน
โดยมีกรอบสาระของกฎหมายในเรืองต่างๆ ดังนี้
a. กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
b. กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
c. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
d. กฎหมายการแลกเปลียนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
e. กฎหมายลายมือชืออิเล็กทรอนิกส์
f. กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
g. กฎหมายโทรคมนาคม
h. ฎหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ
และการค้าระหว่างประเทศทีเกียวเนืองกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
i. กฎหมายทีเกียวเนืองกับระบบอินเทอร์เน็ต
j. กฎหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์

กรณีศึกษาอาชญากรรมและกฎหมายไอที
กรณีที่1 : นายจ้างเปิด e-mail ลูกจ้างอ่านได้หรือไม่?
กรณีที่2 : Copy รูปภาพ/ข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อืนมาใช้ เป็นการละเมิดลิขสิทธิทุกกรณี หรือเปล่า?
กรณีที่3 : หมินประมาททางอินเทอร์เน็ตกับความรับผิดทางแพ่งหรือไม่?
กรณีที่4 : ทํา Hyperlink ยังไงไม่ให้ละเมิดลิขสิทธิ?
กรณีที่5 : การดาวน์โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเทอร์เน็ตผิดกฎหมายหรือเปล่า?

กรณีที่1 : นายจ้างหรือผู้บังคับบัญชา เปิด e-mail
ลูกจ้างหรือผู้ใต้บังคับบัญชาอ่านได้หรือไม่?
       ในประเทศสหรัฐอเมริกา ถ้าองค์กรนัน ๆ มีการกําหนด User name และ Password ให้กับคนในองค์กร นายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาสามารถเปิดอ่าน e-mail ของลูกจ้างได้ รวมทังสามารถดูแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ
ในฮาร์ดดิสก์คอมพิวเตอร์ของบริษัทได้ เพราะเป็น e-mail สําหรับการปฏิบัติงาน แต่หากเป็น e-mail อืนทีไม่ใช่ขององค์กร จะไม่ได้รับอนุญาตให้เปิดอ่าน หากนายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาละเมิดสิทธิ
ลูกจ้างสามารถฟ้องร้องนายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาให้ชดใช้ค่าเสียหายทางแพ่งได้

กรณีที่2 : การ Copy รูปภาพ/ข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อื่นมาใช้
เป็นการละเมิดลิขสิทธิทุกกรณีหรือเปล่า?
       หากต้องทําการ copy รูปภาพหรือข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อืนมาใช้งาน จําเป็นต้องขออนุญาตเจ้าของเสียก่อน หากนํามาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตจะถือว่าละเมิดลิขสิทธิผิดกฎหมาย หากนําไปใช้เพือการค้าอาจถูกฟ้องเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญาได้ ยกเว้นสําหรับกรณีเพือการศึกษา โดยต้องมีการอ้างอิงและขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ

กรณีที่3 การหมินประมาททางอินเทอร์เน็ต
สามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่? ( 1)
       หากมีการหมินประมาทบุคคลผ่านทางอินเทอร์เน็ต สามารถฟ้องร้องได้ทังคดีอาญา และคดีแพ่ง
การหมินประมาททางแพ่งหมายถึง การบอกกล่าวข้อความอันเป็นเท็จและทําให้เกิดความเสียหายต่อชือเสียง หรือการทํามาหาเลียงชีพของคนอื่น ส่วนใหญ่คดีหมินประมาทจะฟ้องร้องกันเป็นคดีแพ่ง
และเรียกค่าเสียหายกันมากๆ เพือให้จําเลยเข็ดหลาบ คดีแพ่งเรืองหมินประมาท ในประเทศไทยยังมีประเด็นทีน่าสนใจคือ เรื่องศาลทีจะฟ้องคดี
กรณีที การหมินประมาททางอินเทอร์เน็ต
สามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่? (2)
       โจทก์สามารถฟ้องคดีได้ทีศาลทีจําเลยมีภูมิลําเนา อยู่ในเขตหรือศาลทีเป็นทีเกิดของเหตุในการฟ้องคดี การหมินประมาทโดยการโฆษณาหนังสือพิมพ์ฝ่ายผู้เสียหาย อาจถือว่าความผิดเกิดขึนทัวประเทศ จึงทําการตระเวนไปฟ้องตามศาลต่าง ๆ ทั่วประเทศ ส่งผลให้จําเลยต้องตามไปแก้คดี
มีโอกาสละเมิดลิขสิทธิ หากมีการมองว่าเป็นการทําซ้างานอันมีลิขสิทธิ แต่ถ้าการเชือมโยงนันเป็นการเชื่อมโยงต่อไปยังหน้าแรกของเว็บผู้อืนก็สามารถทําได้ แต่ควรขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิให้เรียบร้อย

สามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่? (3)
       หากเป็นการเชือมโยงลึกลงไปถึงเนือหาส่วนอืนของเว็บผู้อืนจะถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิได้
ในกรณีทีไม่ต้องการให้ใครนําเว็บของเราไปเชือมโยงอาจจะระบุไว้ทีเว็บเลยว่า ไม่อนุญาตจะทําให้ผู้ทีเข้ามาเชือมโยงหากยังมีการละเมิดสิทธิก็จะมีความผิดโดยไม่ต้องตีความ

กรณีที่4 : ทํา Hyperlink ยังไงไม่ให้ละเมิดลิขสิทธิ?

 กรณีที่5 : โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเทอร์เน็ตผิดกฎหมายหรือเปล่า?
– การ Download
โปรแกรมทางอินเทอร์เน็ตมาใช้งานแบบถูกต้องตามกฎหมายโดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ ก็ต่อเมือโปรแกรมทีผู้ใช้ Download มาใช้นัน ถูกระบุว่าเป็นประเภท Freeware, Shareware, Open Source
– สําหรับการโหลดเพลงทางอินเทอร์เน็ต สามารถทําได้โดยไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ หากได้รับอนุญาต
– แต่โดยทัวไปแล้วค่ายเพลงมักจะไม่อนุญาต ยกเว้นจะทําเพือการค้า

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น