วันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 9 ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม

ซอฟต์แวร์สังคม
       ซอฟต์แวร์สังคม คือ ซอฟต์แวร์ทีทําให้ผู้คนสามารถนัดพบปะเชื่อมสัมพันธ์หรือทํางานร่วมกัน โดยมีคอมพิวเตอร์เป็นสือกลางเกิดเป็นสังคม หรือชุมชนออนไลน์ เช่น
– E-mail
– Instant messaging
– WEB
– Blog
– Wiki เป็นต้น
ส่วนการจําแนกกลุ่มของซอฟต์แวร์สังคม แบ่งได้ กลุ่มดังต่อไปนี้
       - กลุ่มทีใช้ประโยชน์ในการติดต่อสือสารผ่านอินเทอร์เน็ต
       - กลุ่มทีใช้ประโยชน์ในการจัดการความรู้

เครื่องมือทีใช้ในการติดต่อสือสาร
1. เครื่องมือเพื่อการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
       - เครืองมือทีใช้ในการสือสารสองฝ่ายไม่พร้อมกัน (asynchronous) ไม่ว่าจะเป็นการเขียน ส่งเสียง ส่งเป็นวีดีโอ
ตัวอย่างเช่น การใช้ E-mail เป็นต้น --> การส่งจดหมาย
       - เครืองมือทีช่วยในการสือสารคนสองคนหรือเป็นกลุ่ม แบบสองฝ่ายพร้อมกัน (synchronous ) เช่น
การสนทนาผ่านโปรแกรม Chat เป็นต้น --> การโทรศัพท์
2. เครื่องมือเพือการสร้างการจัดการความรู้
       - เป็นเครืองมือในกลุ่มทีใช้เพือประโยชน์เพือการจัดการความรู้ มีหลายอย่าง โดยแบบเบืองต้น เช่น การสืบค้นข้อมูล
       - ส่วนในระดับถัดมา เป็นเครืองมือเพือการใช้ข้อมูลร่วมกันรวมทั้งให้ความรู้ และสร้างความรู้ใหม่ เช่น Wiki , Blog
เป็นต้น

ตัวอย่างเครืองมือทางสังคม
1. Blog
2. Internet Forum
3. Wiki
4. Instant Messaging
5. Folksonomy
6. KUI (Knowledge Unifying Initiator)

Blog
- Blog มาจากคําเต็มว่า WeBlog บางครังอ่านว่า We Blog บางคนอ่านว่า Web Log
- Blog คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนือหาเป็นเรืองใดก็ได้
ซึ่งข้อมูลประกอบด้วยข้อความ, รูป และลิงค์
- การเพิมบทความให้กับ blog ทีมีอยู่ เรียกว่า “blogging”
- บทความใน blog เรียกว่า “posts” หรือ “entries”
- บุคคลทีโพสลงใน “entries”เรียกว่า “blogger”

จุดเด่นของ Blog
1. เป็นเครืองมือสือสารชนิดหนึงที่สามารถสือถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อกและผู้อ่านทีเป็นกลุ่มเป้าหมายได้ชัดเจน
2.มีความสะดวกและง่ายในการเขียน Blog ทําให้สามารถเผยแพร่ความคิดเห็นของผู้เขียน blog ได้ง่ายขึ้น
3. Comment จากผู้ทีสนใจเรืองเดียวกันบางครังทําให้ เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ

ข้อแตกต่างของ Blog กับเว็บประเภทอื่น– การใส่ข้อมูลใหม่ทําได้ง่าย
– มี template อัตโนมัติช่วยจัดการ
– มีการกรองเนือหาแยกตามวัน ประเภทผู้แต่งหรืออืนๆ
– ผู้ดูแลจัดการ blog สามารถเชิญ หรือ เพิมผู้แต่งคนอื่นโดยจัดการเรืองการอนุญาตและการเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย
– เจ้าของ blog จะเป็นผู้สร้างหัวข้อสนทนาเท่านัน

Blog และวิถีของผู้คน
- Blogger หลายคนสนับสนุนแนวคิดเรือง open source
- Blog ส่งผลกระทบต่อสังคมได้ เช่นบาง Blog นั้นลูกจ้างอาจจะก่อรําคาญใจต่อนายจ้างและทําให้บางคนถูกไล่ออก
- คนใช้ Blog ในทางอืนๆ เช่นส่งข้อความสู่สาธารณะ อาจจะมีปัญหาตามมาได้ คือการไม่เคารพทรัพย์สินทางปัญญา หรือการให้ข่าวทีไม่น่าเชือถือได้
- บางครังการสร้างข่าวลือก็เอือประโยชน์ต่อสือสารมวลชนทีสนใจเรืองนัน ๆ ได้
- Blog เป็นการรวบรวมความคิดของมนุษย์สามารถนํามาใช้ช่วยกับปัญหาด้านจิตวิทยา , อาชญากรรม , ชนกลุ่มน้อย ฯลฯ
- Blog เป็นช่องทางเผยแพร่งานพิมพ์อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ

Internet Forum
- ทําหน้าทีคล้าย bulletin board และ newsgroup
- มีการรวบรวมข้อมูลทัวๆไป เช่น เทคโนโลยี, เกม,คอมพิวเตอร์, การเมือง ฯลฯ
- ผู้ใช้สามารถโพสหัวข้อลงไปในกระดานได้
- ผู้ใช้คนอืนๆ ก็สามารถเลือกดูหัวข้อหรือแม้กระทังโพส ความคิดเห็นของตนเองลงไปได้

Wiki
- Wiki อ่านออกเสียง "wicky", "weekee" หรือ "veekee"
- สามารถสร้างและแก้ไขหน้าเว็บเพจขึนมาใหม่ผ่านทางบราวเซอร์ โดยไม่ต้องสร้างเอกสาร html เหมือนแต่ก่อน
- Wiki เน้นการทําระบบสารานุกรม, HOWTOs ทีรวมองค์ความรู้หลายๆ แขนงเข้าไว้ด้วยกันโดยเฉพาะ
มีเครืองมือทีใช้ทํา Wiki หลายอย่าง เช่น Wikipedia เป็นต้น
- Wikipedia เป็นระบบสารานุกรม(Encyclopedia) สาธารณะ ที่ทุกคนสามารถใส่ข้อมูลลงไปได้ รองรับภาษามากกว่า
ภาษารวมทังภาษาไทย
- มีการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์วิกิทีสําคัญยิงในการสร้างสารานุกรมที่เปิดโอกาสให้ใครก็ได้มาร่วมกันสร้างสารานุกรมที่ http://www.wikipedia.org/
- วิกิพีเดียในภาคภาษาไทยที http://th.wikipedia.org/
- ในปัจจุบันวิกิพีเดียถือว่าเป็นแหล่งความรู้ทีสําคัญ
- ซอฟต์แวร์เพือสังคมทีดีพึงคงคุณลักษณะของการเปิดพืนทีให้กับปัจเจกบุคคลในการสือต่อสาธารณะโดยมีการควบคุมน้อยที่สุด
- เพื่อให้การประมวลสังคมเป็นไปอย่างอิสระปราศจากการครอบงําจากเจ้าของเทคโนโลยีให้มากทีสุด
- ดังนันการสร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์เพือสังคมใดๆ พึงตระหนักถึงหลักการเคารพในสิทธิของปัจเจก (individual)
ให้มากทีสุดเท่าทีจะทําได้

Instant Messaging
- เป็นการอนุญาตให้มีการติดต่อสือสารระหว่างบุคคลบนเครือข่ายทีเป็นแบบ relative privacy
- ตัวอย่างเช่น Gtalk , Skype , Meetro , ICQ , Yahoo Messenger , MSN Messenger และ AOL Instant Messenger เป็นต้น

Folksonomy
ก่อนหน้าการกําเนิดขึนของปัจเจกวิธาน โดยทัวไปแล้ว ได้มีการจัดกลุ่มการจัดระเบียบและค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตโดยทั่วไปมี แบบ คือ
- ค้นหาในเนือความ (Text Search)
- เรียงเนือหาตามลําดับเวลา (Chronological)
- แยกตามกลุ่มประเภท (Category, Classification)

ค้นหาในเนือความ (Text Search)
- ตัวอย่างเช่น Google ทีก่อตังโดย Sergery Brin และ Larry Page
- ได้ออกแบบเพือจัดอันดับความสําคัญของเว็บโดยคํานวณจากการนับ Link จากเว็บอืนทีชีมาทีเว็บหนึง ๆ
- เป็นทีน่าติดตามว่าจะมีเทคนิควิธีในการค้นหาข้อมูลใหม่ ๆ

เรียงเนือหาตามลําดับเวลา (Chronological)
- เนือหาข้อมูลจะถูกจัดเก็บเรียงลําดับเวลาโดยแสดงตามเวลาใหม่ล่าสุดก่อน
- เช่น เว็บไซต์ประเภทข่าว อย่าง CNN, BBC และ google news เนื้อหาเก่าจะตกไปอยู่ด้านล่าง
- Blog ก็ใช้วิธีจัดเรียงตามเวลาเช่นกัน
- ทั้งนี้หากต้องการอ่านเนือหาเก่าก็สามารถคลิกดูทีปฏิทินได้

แยกตามกลุ่มประเภท (Category, Classification)
- การจัดระเบียบแบบนียึดเอาหัวข้อเป็นหลัก แล้วแยกประเภทออกไป เช่น แบ่งหนังสือเป็นประเภทธุรกิจ, หนังสือเด็ก, นวนิยาย, คอมพิวเตอร์, ศาสนา, วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ลักษณะอืน ๆ
- จะช่วยให้ค้นหาข้อมูลได้ง่ายขึน

ปัญหาทีเกียวกับข้อมูลข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต มีดังต่อไปนี
- เนื้อหามีปริมาณเพิมขึนอย่างรวดเร็วรายวัน
- การค้นหาข้อมูลทีตรงตามความต้องการมากทีสุดทําได้ยากเนื่องจากเนือหาทีมีจํานวนมาก
- การค้นหาข้อมูลเฉพาะด้านทีขึนกับความสนใจของผู้ทําการค้นไม่ตรงจุด
- ข้อมูลทีพบอาจจะขาดความน่าเชือถือ

ตัวอย่างโครงการทีใช้อาสาสมัครมาช่วยกันจัดระเบียบกลุ่ม
- โครงการ Open Directory Project (http://dmoz.org/)
- แม้กระนันก็ตามโครงการนีก็ยังไม่สามารถโตได้ทันกับการเติบโตของเว็บทังหมดได้เลย นีเองเป็นแรงผลักให้เกิดระบบ ปัจเจกวิธาน ขึน
- เป็นรูปแบบหนึงในการจัดการข่าวสารความรู้สําหรับปัจเจกบุคคลอันนํามาซึ่งประโยชน์อันกว้างขวางในการศึกษาความสนใจและพฤติกรรมของกลุ่มชนหรือสังคมโดยรวมได้

กําเนิดปัจเจกวิธาน
- Joshua Schachter เริมรวบรวมเก็บเว็บต่าง ๆ เป็น Bookmark ของตนเองคนเดียวไว้มากและใช้ Keyword เพือจัดกลุ่มแทน
- เช่น “search engine tools” และ “password security tools” เมื่อต้องการเรียกเว็บทีมีคําว่า tools
ก็จะสามารถดึงรายชือเว็บทังหมดออกมาได้ทันที
- ปัจเจกวิธาน เรียก keyword นีว่า tag เป็นคําสัก 2-7
- คําทีเกียวกับเว็บใหม่ทีสามารถจัดเป็นกลุ่มเว็บได้

Tag
- วิธีการใช้ tag นีมีความสะดวกตรงทีไม่ต้องจําลําดับชันการจัดระเบียบเช่นเดิม การค้นเจอเว็บก็ได้จาก tag หลาย ๆ ตัวได้ ไม่จํากัดอยู่แต่ข้อมูลใน Folder เดียวกัน Joshua นําให้ทุก ๆ คนสามารถตรวจดูเว็บทีมีการตังชือ tag โดยผู้อืนได้

       คําว่า Folksonomy นี มีทีมาจากการที ใครก็ได้ทุก ๆ คน (Folk) มีสิทธิในการจัดทําอนุกรมวิธาน (Taxonomy) หรือ
จัดกลุ่มประเภทหมวดหมู่ของเอกสารในโลกอินเทอร์เน็ตให้อยู่ในแบบที ตนเข้าใจ ต่างจากการทํา Taxonomy เช่น การจัดประเภทสัตว์หรือพืช ทีอาศัย ผู้รู้เป็นผู้ดําเนินการและให้ผู้อืนจัดว่าอะไรควรจะอยู่ประเภทไหนตามทีผู้รู้นั้นได้กําหนดไว้แล้ว

คุณลักษณะพิเศษ ที่ได้จากปัจเจกวิธาน
- กระแสการติดตามเว็บใหม่ ๆ ตามชือ Tag (Stream and Feed)
- การเห็นกลุ่ม Tag ก่อตัวกันมองคล้ายกลุ่มเมฆ ตามหัวเรืองทีสนใจ (Tag Cloud)
- การให้คะแนนความนิยม (Rating and Popularity)
- การท่องอินเทอร์เน็ตอย่างทีมีเนือหาข้อมูลข้ามสายกัน (Cross-Navigation)

กระแสการติดตามเว็บใหม่ (Stream and Feed)
       จากตัวอย่าง มีหน้าเฉพาะสําหรับ Tag คําว่า Tools ซึ่งก็อาจจะมีหน้าเฉพาะอืน ๆ ให้ เข้าไปติดตาม Tag เฉพาะใด ๆ ได้เช่น ถ้าท่านสนใจเรืองภาษาไทย ท่านอาจจะตามอ่านได้จากหน้า “tag/thai” หรือ “tag/thai+language”
นอกจากนียังมีการสร้าง RSS feed สําหรับหน้าดังกล่าว เพือใช้เตือนทาง RSS reader ว่ามีเนือหาใหม่ ๆ ตาม Tag ดังกล่าว เกิดขึนเพิมขึนมา

กลุ่ม Tag ก่อตัวกันมองคล้ายกลุ่มเมฆ (Tag Cloud)
       เมื่อมีการใส่ tag เป็นจํานวนมากแล้ว ระบบของ ปัจเจกวิธาน สามารถแสดงภาพรวมออกมาได้ว่า ทุก ๆ คนใช้ tag ใดมากน้อยเพียงใด Tag ใดทีมีคนใช้มาก ก็จะตัวใหญ่ tag ใดใช้น้อยก็จะตัวเล็ก การแสดงภาพรวมนีสามารถทําได้ทังของทุก ๆ คนรวมกัน หรือ เฉพาะบุคคลไป (ซึงจะชีให้เห็นได้ว่าบุคคลนั้นสนใจเรื่องใดบ้าง)

การให้คะแนนความนิยม (Rating and Popularity)
- การทีเว็บมีข้อมูลจํานวนมาก ทําให้ยากต่อการตัดสินใจเลือกว่าข้อมูลใด น่าสนใจทีสุด
- ระบบของ ปัจเจกวิธาน ช่วยแก้ปัญหานีได้โดยการแสดงจํานวนผู้ใช้ทีได้ใส่ tag ให้กับเว็บนัน ๆ ถ้ามีจํานวนผู้ใช้ทีใส่
tag มาก ก็แสดงว่าเว็บนันเป็นทีนิยม

เนื้อหาข้อมูลข้ามสายกัน (Cross-Navigation)
- การใช้แกนในการค้นหาถึงสามอย่างได้ช่วยให้พบข้อมูลใหม่ ๆ เพิมขึน แกนดังกล่าวได้แก่
- User: เว็บทังหมดทีผู้ใช้ผู้นีใส่ tag ให้และเรียกดู tag cloud ของผู้ใช้ผู้นีได้ด้วย
- Tag: เว็บทังหมดทีมีการใส่ tag และเรียกดู tag ทีเกียวข้องได้ด้วย
- URL: เว็บเว็บนีมีใครใส่ tag บ้าง และใส่ว่าอะไรบ้าง การค้น อาจจะเริมจากที User แล้วไปทีแกน tag และทําให้พบ tag
ทีเกียวข้องได้อีก โดยไม่ได้ตังใจไว้ก่อนแต่แรก

การใช้ tag สามารถพบได้ในการนําไปกับเนือหาอืน ๆ
- Flickr.com เก็บ และ ใส่ tag ให้กับรูปภาพ
- CiteULike.org เก็บและใส่ tag ให้เอกสารงานวิจัย (academic paper)
- 43Things.com บันทึกสิงทีอยากทําในชีวิตพร้อมกับใส่ tag ให้กิจกรรมนัน
- Tagzania.com บันทึกสถานที และใส่ tag ให้กับสถานทีหรือแผนที

อนาคตของ ปัจเจกวิธาน (Folksonomy)
- ระบบการใช้ tag จะมีการนําไปประยุกต์ใช้กับ Blog และ Wiki เพื่อความสะดวกให้การค้นหาความรู้ต่าง ๆ
ทีบรรจุไว้ในซอฟต์แวร์ทังสอง
- ในระยะยาวอาจจะมีการแข่งขันของโปรแกรมลักษณะนีอีกก็เป็นไปได้ โดยทีอาจจะมีคุณลักษณะเพิมเติมทีง่ายต่อการใช้งานและมีความสามารถใหม่ ๆ

KUI (Knowledge Unifying Initiator)
- Knowledge Unifying Initiator หมายถึง กลุ่มผู้รวบรวมความรู้ โดย KUI จัดว่าเป็นซอฟต์แวร์ทางสังคม (Social Software) และการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
- KUI ประกอบด้วย หมวดหลักดังนี
- Localization เป็นการเสนอคําแปลความหมายของประโยค วลีหรือคําศัพท์
- Opinion Poll เป็นการเสนอความคิดเห็นจากการสํารวจความคิดเห็น
- Public Hearing เป็นข้อเสนอแนะ การตีความ ประชาพิจารณ์ร่างกฎหมาย
       KUI มีประโยชน์ในการสร้างความรู้ใหม่ ๆ คือมีการเสนอประเด็นความเห็นร่วมกัน ซึ่งโต้แย้งถกเถียงได้คล้ายเว็บบอร์ด
แต่มีสิงทีแตกต่างจากเว็บบอร์ด คือ ถ้าประเด็นความเห็นใดสมาชิกให้คะแนน (Vote) น้อย หรือคนไม่สนใจประเด็นนันก็จะถูกลบออกไป โดยเกณฑ์การให้คะแนน (Vote) นัน ต้องมีสมาชิกให้คะแนนไม่ต่ากว่าร้อยละ ของสมาชิกทีได้ทําการลงทะเบียน การใช้งาน KUI แบ่งออกเป็น ส่วน คือ สําหรับบุคคลทั่วไปและสําหรับสมาชิก นอกจากนียังมีส่วน Dictionary จะแสดงผลข้อมูลคําศัพท์และใน Documentationsเป็นการอธิบายการทํางานในแต่ละโมดูลสมาชิกสามารถเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและอภิปรายได้ แต่ถ้าหัวข้อใดทีสมาชิกเป็นคนเพิมเข้าไปเองก็จะสามารถแก้ไขชื่อ

การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์เพือสังคม
       ใช้ประโยชน์ในการประมวลทางสังคม (social computing) ในยุคทีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (ICT) เป็นทุนในการพัฒนาสังคม ในยุคนีมีความจําเป็นจะต้องสร้างระบบทีก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมจากสมาชิกในสังคมให้มากทีสุด
เช่น การเปิดพืนทีการมีส่วนร่วมใหม่ให้กับภาคประชาสังคมเพื่อให้ประชาคมในทุกภาคส่วนได้มีโอกาสทีจะเข้าถึงและทํางานเพื่อสังคมของตนด้วยตนเอง ให้มากทีสุดเท่าทีจะทําได้ ในการออกแบบซอฟต์แวร์เพือสังคมจึง เน้นให้คงความเป็นปัจเจก (individual) ของบุคคลไว้การให้โอกาสปัจเจกบุคคลสามารถแสดงออกสู่สาธารณะเพือสนับสนุนให้มีการตอ
บสนองจากสังคมอย่างเท่าเทียมเป็นปารถนาสูงสุดของการประมวลทาง

การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์ Blog
- เป็นซอฟต์แวร์เพือสังคมทีสามารถใช้เพือการเสนอ (post) ข้อความต่อผู้อืนในสังคมและอนุญาตให้ผู้อ่านบล็อกมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น (comment) ต่อข้อความทีเสนอได้
- ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทัวไปจะสามารถใช้บล็อกได้โดยไม่ต้องมีความรู้ทางเทคนิคมากนัก
- บล็อกจะเรียงลําดับตามเหตุการณ์จากปัจจุบันไปอดีตจึงเป็นโอกาสทีผู้ใช้จะใช้บันทึกเหตุการณ์ทีเกียวข้องกับตัวผู้บันทึกได้ในทุกๆ เรื่องตามประสงค์ของผู้บันทึก
- บล็อกจึงสามารถใช้เป็นแหล่งข้อมูลเบืองต้นในกระบวนการการจัดการความรู้ การสร้างลักษณะนิสัยให้ประชาคมในสังคมรักการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในบล็อกจะเป็นประโยชน์อย่างมากในอนาคตของสังคมนัน

การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์ Folksonomy
- ใช้เพือประโยชน์ในการจัดหมวดหมู่ แห่งสรรพสิงทีผู้ใช้สนใจโดยผู้จัดหมวดหมู่เป็นผู้กําหนดเอง
- ปัจจุบันยังไม่มีปัจเจกวิธานตัวใดทีสามารถใช้จัดหมวดหมู่ได้ทุกสรรพสิ่งแต่มีซอฟต์แวร์ปัจเจกวิธานเฉพาะเรืองให้เลือกใช้ เช่น
- การจัดหมวดหมู่ของรูปภาพ สามารถใช้บริการที http://www.flickr.com/
- การกําหนดตําแหน่งทางภูมิศาสตร์ สามารถใช้บริการที http://www.tagzania.com/
- การจัดหมวดหมู่ลิงค์เชืองโยงในอินเทอร์เน็ตทีสนใจได้แก่ http://del.icio.us/
- ประโยชน์อย่างมากของปัจเจกวิธานก็คือการเปิดโอกาสผู้ใช้ได้มีโอกาสในการจัดหมวดหมู่สารสนเทศทีสามารถใช้เป็นแหล่งความรู้ได้ด้วยตนเองได้โดยปราศจากการบงการ (เพียงแต่ให้คําแนะนําทีเป็นประโยชน์) จากผู้อืนหรือจากระบบแต่อย่างใดเจตจํานงสําคัญของการใช้ซอฟต์แวร์เพือสังคมอันหนึงก็คือ
- การเปิดโอกาสให้ปัจเจกบุคคลได้มีโอกาสในการสือสารต่อสาธารณะเพื่อประมวลสังคมของพวกเขาได้ด้วยตนเอง
- การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์เพือสังคมก็เช่นเดียวกันที่เป็นเรืองทีปัจเจกบุคคลจะมีอิสรเสรีในการเลือกประโยชน์ทีต้องการด้วยตัวเอง
- ดังนั้นคําตอบในเรืองประโยชน์จากซอฟต์แวร์เพือสังคม
จึงเป็นคําตอบทีท่านต้องตังคําถามให้ไว้กับตนเองตอบนันเอง

ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม “คุย” หรือ “KUI”
- มีวัตถุประสงค์เพือให้เกิดการทํางานร่วมกันในสังคม ในลักษณะของการแลกเปลียนความรู้
- เป็นการเปิดโอกาสให้ปัจเจกบุคคลสามารถเข้ามาทํางานร่วมกันโดยแต่ละคนมีอิสรเสรีในการนําเสนอความรู้ในเรืองทีตนสนใจ
- โปรแกรม “คุย” ใช้หลักการของการเคารพความเห็นของส่วนรวมปฏิบัติตามความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่
แต่ยังรับฟังความคิดเห็นทีดีของคนส่วนน้อย
- โปรแกรมคุยสามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้กับเหตุการณ์ต่างๆ ที่กําลังเป็นทีสนใจของประชาชน และใช้ประโยชน์เพือจรรโลงสังคมได้
- โปรแกรม “คุย”
สามารถถูกนําไปใช้ในโครงการเพือสร้างความเข้าใจอันดีในภารกิจของคณะกรรมก
ารตรวจสอบการกระทําทีก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ เช่น

   - การเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ในภารกิจของคณะกรรมการตรวจสอบ
   - เปิดพืนทีให้ภาคประชาชนได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลในส่วนทีเกียวข้องและเป็นประโยชน์ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
   - เป็นพืนทีทีคณะกรรมการตรวจสอบสามารถใช้เพือแจ้งข่าวสารข้อเท็จจริงและสารสนเทศอื่นๆ ที่สามารถส่งเสริมและสร้างความเข้าใจอันดีต่อกิจกรรมการตรวจสอบของคณะกรรมการฯ ได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น