วันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 7 การเชื่อมต่อทางซอฟต์แวร์

การเชื่อมต่อทางซอฟต์แวร์
       เมื่อทําการเชือมต่อเครืองคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่ายทางกายภาพแล้วเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะยังไม่สามารถติดต่อกันได้ จนกว่าจะเชือมต่อทางซอฟต์แวร์เสียก่อน การเชื่อมต่อทางซอฟต์แวร์นันสามารถทําได้โดย ทําการติดตั้งซอฟต์แวร์สําหรับสือสารข้อมูล ซึงทําหน้าทีกําหนดรูปแบบ และวิธีการในการสือสารข้อมูลเรียกว่า โพรโตคอล (Protocol)
เครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องจะสามารถติดต่อกันได้ ก็ต่อเมือใช้ โพรโตคอลชุดเดียวกันเท่านั้น เช่น
       - ชุดของ TCP/IP จะใช้ได้เฉพาะกับเครืองทีใช้ TCP/IP ด้วยกันเท่านัน
       - หรือ IPX/NetBUEI ก็ใช้ได้เฉพาะกับเครืองทีใช้ IPX/NetBUEI ด้วยกันเท่านัน
เมื่อดําเนินการเชือมต่อในระดับซอฟต์แวร์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะสามารถใช้งานโปรแกรมประยุกต์ สําหรับเครือข่ายได้
โดยโปรแกรมประยุกต์สําหรับเครือข่าย (Network Application) เป็นโปรแกรมทีสามารถสร้างการติดต่อจากผู้ขอใช้บริการ (Client) ไปยังโปรแกรมทีทําหน้าทีเป็นผู้ให้บริการ (Server) สถาปัตยกรรมนีเรียกว่า Client/Server

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
       เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายทีประกอบด้วยเครืองคอมพิวเตอร์ทีใช้ชุดโพรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐานในการสื่อสาร TCP (Transmission Control Protocol) ซึ่งทําหน้าทีสร้างการติดต่อและควบคุมการสือสารระหว่างโปรแกรมที่
ทําหน้าทีขอใช้บริการและโปรแกรมทีทําหน้าทีให้บริการ IP (Internet Protocol) ซึ่งทําหน้าทีในการส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง โพรโตคอลทีมีผู้ใช้มากที่สุด คือ
       - โพรโตคอล HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) ที่ใช้ในการส่งเอกสารเรียกว่า HTML ทีใช้ในระบบ WWW (World Wide Web) เช่น หน้าเว็บเพจทั่ว ๆ ไป
       - โพรโตคอล FTP (File Transfer Protocol) ซึ่งใช้ในการโอนถ่ายแฟ้มข้อมูล
สิ่งพืนฐานทีต้องมีในการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต คือ
       - การเชือมต่อทางกายภาพ เช่น ผ่านระบบโทรศัพท์, LAN, WAN
       - การเชือมต่อทางซอฟต์แวร์ เช่น โพรโตคอล TCP/IP เป็นต้น

ตําแหน่งของเครื่องคอมพิวเตอร์
       กําหนดเป็นเลขฐานสอง ขนาด บิต เรียกว่า เลขตําแหน่งในเครือข่ายหรือทีเรียกเฉพาะว่า IP Address
(คล้ายกับหมายเลขโทรศัพท์ในระบบโทรศัพท์ปัจจุบัน) แบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละ 8 บิต คันด้วยเครืองหมายจุด
นิยมเขียนเป็นเลขฐานสิบ แต่ละชุดจะมีค่าระหว่าง 0-255
       Subnet Mask เป็นเลขฐานสองขนาด 32 บิต ที่ใช้ในการกําหนดขอบเขตของเครือข่ายและสัมพันธ์กับ Class ของ IP
Address เช่น เครือข่ายทีมีหมายเลขเครือข่ายใน Class C จะมีค่าโดยปริยายเป็น 255.255.255.0 ใช้ในการทดสอบว่าเครืองคอมพิวเตอร์ต้นทางและปลายทางอยู่ในเครือข่ายเดียวกันหรือไม่หมายเลขเครือข่าย = หมายเลข IP Subnet mask
       เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางต้องรู้ IP Address ของเครืองคอมพิวเตอร์ปลายทางเสมอ และ เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแต่ละเครือข่าย ต้องรู้ IP Address ของอุปกรณ์กําหนดเส้นทางประจําเครือข่ายหรือ Default Gateway
ของเครือข่ายนันด้วยเช่นกัน
       เครื่องในเครือข่ายเดียวกันต้องมีส่วนของหมายเลขเครือข่ายเหมือนกัน ถ้าหมายเลขเครือข่ายของเครืองปลายทางเท่ากับหมายเลขเครือข่ายของเครืองต้นทาง การส่งข้อมูลสามารถกระทําได้โดยตรง ในกรณีทีไม่เท่ากัน ผู้ส่งจะส่งข้อมูลไปยัง Default Gateway เพือให้ Default Gatewayเลือกเส้นทางทีจะส่งข้อมูลไปยังเครืองปลายทางตามความเหมาะสมต่อไป
ระบบชื่อโดเมน
       เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครืองจําเป็นต้องมี IP Address และจําเป็นต้อง จํา IP Address เพือทีจะติดต่อกัน
หากผู้ใช้ต้องจํา IP Address ของเครืองคอมพิวเตอร์ทุกเครืองทีต้องใช้ในการติดต่อคงเป็นการไม่สะดวก จึงมีการจัดกลุ่ม IP Address ของหน่วยงานแต่ละหน่วยงานเข้าด้วยกัน และกําหนดเป็นชือขึนใช้แทน
เช่น IP Address ทังหมดทีมหาวิทยาลัยบูรพา ได้รับอนุญาตให้ใช้มีชือเป็น buu.ac.th ระบบชือเช่นนี้ เรียกว่าระบบชือโดเมน (Domain Name System หรือDNS)
มีการจัดโครงสร้างตามลําดับชัน กําหนดตามลักษณะของหน่วยงานและกําหนดตามพืนทีทางภูมิศาสตร์

ระบบชื่อโดเมน ระดับสูง ตาม ลักษณะหน่วยงาน
       - com หน่วยงานด้านธุรกิจและการค้า
       - edu สถาบันศึกษา
       - net หน่วยงานทีสนับสนุนการดําเนินการในเครือข่าย
       - mil หน่วยงานทหาร
       - org หน่วยงานอืนๆ
       - int หน่วยงานทีดําเนินการในระดับนานาชาติ
       - biz หน่วยงานธุรกิจ
       - info สําหรับบุคคลทัวไปใช้ในการบริการข่าวสาร
       - pro สําหรับหน่วยงานทีเชียวชาญในระดับอาชีพ
       - th ประเทศไทย
       - cn จีน
       - jp ญีปุ่น
       - kr เกาหลี

การกําหนดชื่อโดเมนใน ระดับที่สอง
       หน่วยงานทีได้รับรหัสในระดับสูงสุดสามารถนํามาขยายเป็นรหัสในระดับที่สองได้ เช่นรหัสประเทศไทย th สามารถแยกออกเป็นรหัสหน่วยงานในประเทศ เช่น
       - ac หมายถึงสถานศึกษา
       - co หมายถึงหน่วยงานธุรกิจและการค้า
       - go หมายถึงหน่วยงานราชการ เป็นต้น

การกําหนดชื่อโดเมนใน ระดับที่สาม
       จากรหัสหน่วยงานในระดับทีสอง หน่วยงานทีได้รับรหัสนั้นสามารถขยายต่อไปเป็นรหัสในระดับที่สาม
ซึ่งเป็นรหัสทีชีเฉพาะถึงหน่วยงาน เช่น
       - buu หมายถึงมหาวิทยาลัยบูรพา
       - cu หมายถึงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
       - tu หมายถึงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
       - ku หมายถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น

การกําหนดชื่อโดเมนใน ระดับต่ำลงไป
       หน่วยงานสามารถกําหนดชือหน่วยงานย่อยภายในได้เอง เช่น กําหนดชื่อ
       - cs แทนเครือข่ายย่อยของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
       - sci แทนเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์
       - eng แทนเครือข่ายของคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น

       หน่วยงานที่ได้รับรหัสในระดับใด ๆ สามารถตังชือเครืองทีอยู่ภายใต้ความควบคุมได้อิสระ และ/หรือ สามารถขยายรหัสต่อไปให้กับหน่วยงานย่อยรับผิดชอบแทนได้ เครื่องทุกเครืองมีหมายเลข IP ดังนั้น การตังชือเครืองภายใต้ชือรหัสทีได้รับมาแล้วทําให้ชือเครืองที่ตาม ด้วยชือโดเมนของหน่วยงานมีค่าเทียบเท่ากับหมายเลข IP ของเครื่อง ๆ นั้น

ข้อมูลทีจําเป็นสําหรับการติดต่อเครือข่าย
       สรุปได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครืองในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ต้องมีข้อมูลทีจําเป็นสําหรับเครือข่าย คือ
       - IP Address
       - Subnet Mask
       - Default Gateway และ
       - Domain Name Server: DNS

การตรวจสอบข้อมูลเครือข่ายบน Windows
       การตรวจสอบข้อมูลเครือข่ายในระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows ทําได้โดยการเข้าสู่ระบบปฏิบัติ MS-DOS และใช้คําสัง ipconfig การตรวจสอบโดยใช้คําสัง ipconfig เช่นนี้ ยังไม่มีข้อมูลของ Domain Name Server
หากต้องการตรวจสอบ สามารถทําได้โดยใช้คําสัง ipconfig /all ซึ่งจะแสดงผลข้อมูล IP address ของเครื่องโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลจํานวนมาก ข้อมูลของ Domain Name Server (DNS) จะอยู่ในตอนแรกของการแสดงผล

การตรวจสอบข้อมูลเครือข่ายบน UNIX
       ระบบปฏิบัติการ Unix มีคําสังในการตรวจสอบเช่นเดียวกัน เพียงแต่ต้องใช้หลายคําสั่ง เมื่อแสดงผลจะมีรายละเอียดประกอบมาก เนื่องจากเป็นคําสังทีเตรียมไว้สําหรับใช้บริหารจัดการระบบ เช่น คําสั่ง ifconfig –a สําหรับตรวจสอบค่า IP Address และ Subnet Mask คําสั่ง netstat –rn สําหรับตรวจสอบสถานะของเครือข่ายและเส้นทางในการส่งข้อมูล

การตรวจสอบการติดต่อสื่อสารในเครือข่าย
       ในกรณีทีต้องการการทดสอบการติดต่อสือสารระหว่างเครืองคอมพิวเตอร์ต้นทาง ไปยังเครืองคอมพิวเตอร์ปลายทาง
ทําได้โดยการใช้คําสัง ping ซึงสามารถใช้งานได้ทังในระบบปฏิบัติการ MS-DOS และ Unix

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น