วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ปฎิบัติการที่ 7 การใช้โปรแกรม Web Browser และการสืบค้นข้อมูล

การใช้โปรแกรม Web Browser และการสืบค้นข้อมูล
1. การเรียกใช้โปรแกรม Web Browser เพื่อเรียกดูข้อมูลต่าง ๆบน World Wide Web
       โปรแกรม Web Browser เป็นโปรแกรมาที่ทำงานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้บริการเว็บ ใช้สำหรับอ่านข้อมูลและแปลเอกสาร HTML เป็นข้อมูลแสดงผลบนจอภาพที่เราเรียกกันว่าเว็บเพจ

2. การเรียกดูข้อมูลโดยการระบุ URL
       การเรียกดูข้อมูลต่าง ๆ ในหน้าเว็บที่อยุ่บน World Wide Web ทำได้โดย พิมพ์ URL ที่ต้องการในส่วนของ Address Box เช่น http://www.buu.ac.th/ แล้วกดแป้น Enter

3. การใช้งานปุ่มต่าง ๆ บนแถบเครื่องมือ (Tool Bar)
       - ปุ่มย้อนกลับ (Back) ใช้สำหรับย้อนกลับไปยังหน้าเว็บเพจที่เคยเข้าชม ในลำดับก่อนหน้าปัจจุบัน
       - ปุ่มเดินหน้า (Forward) ใช้สำหรับเดินหน้าไปยังหน้าเว็บเพจที่เคยเข้าชม ในลำดับหลังหน้าปัจจุบัน
       - ปุ่มหยุด ใช้สำหรับหยุดการติดต่อดาวน์โหลดแฟ้มเอกสาร HTML ที่กำลังเรียกขึ้นมาปรากฎบนหน้าจอ
       - ปุ่มรีเฟรช ใช้สำหรับปรับปรุงข้อมูลที่กำลังแสดงอยู่บนหน้าจอให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน
       - ปู่มโฮม ใช้สำหรับเรียกหน้าเว็บที่กำหนดไว้เป็นหน้าโฮมเพจของเครื่องนั้น ๆ ขึ้นมาแสดง (โดยการกำหนดหน้าเว็บใด ๆ ให้เป็นหน้าโฮมเพจสามารถกำหนดได้ที่เมนู Tools>Internet Options และกำหนดที่อยู่ของเว็บที่ต้องการลงไปในส่วน Home Page)
       - ปุ่มค้นหา ใช้สำหรับแสดงกล่องข้อความ เพื่อค้นหาเว้บเพจที่มีข้อความที่ระบุ หรือค้นหาแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ โดยใช้เครื่องมือค้นหาของบริษัทไมโครซอฟต์

4. การใช้งานคุณสามบัติ Favorites
       4.1 การจัดเก็บ URL ต่าง ๆที่เราสนใจไว้เพื่อเป้ฯทางลัดและเกิดความสะดวกในการเรียกใช้งานหน้าเว็บเพจในภายหลังโดยไม่ต้องจดจำ URL ของเว็บเพจนั้น ๆ สามารถทำได้โดยการใช้คุณสมบัติ Favorites ของโปรแกรม โดยการจัดเก็บ URL ไว้ในรายการ Favorites

5. การใช้ History
        History ที่ใช้ในโปรแกรม Web Browser เช่น Internet Explorer เป็นการแสดง URL ที่เคยเข้าไปใช้งาน ผู้ใช้สามารถเรียกดู history โดยการเลือกเมนู View จากนั้นเลือกเมนูย่อย Explorer  bar และเลือก History จะปรากฎรายการชื่อเว็บเพจที่เคยเรียกใช้งาน แบ่งตามระยะเวลาที่เรียกใช้งานเว็บเพจนั้น ๆ

6. Seareh Engine บน www และการสืบค้นข้อมูลอย่างง่าย
       เครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลบน www อาจเรียกได้อย่างนึงว่า Search Engine ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานอยู่บนเว้บไซต์ได ๆ มีหน้าที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ บน www โดยข้อมูลที่สามารถสืบค้นได้อาจเป็น แฟ้มรุปภาพ แฟ้มภาพเคลื่อนไหว แฟ้มข้อมูลเสียง แฟ้มข้อมูลเอกสารประเภทต่าง ๆได้แก่ เอกสาร HTML เอกสาร Word เอกสาร Pdf หรือ แฟ้มข้อมูลประเภทอื่น ๆ

7. การสืบค้นแบบซับซ้อน ด้วยโปรแกรม Google Search Engine
       เรียกใช้โปรแกรม Google โดยพิมพ์ http://www.google.co.th/ ในช่อง Address ของโปรแกรม Internet Explorer จะปรากฎจอภาพจากเว็บไซต์ของ google จากนั้นคลิกที่ลิงค์การค้นหาขั้นสูง

8. การสืบค้นข้อมูลของสำนักหอสมุดโดยใช้ Web OPAC
       ในหน้าต่างโปรแกรม Internet Explorer ในช่อง Address ให้พิมพ์ http://lib.buu.ac.th / จะปรากฎเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยบูรพา แล้วคลิกที่ลิงค์ Web OPAC

ปฏิบัติการที่ 12 การใช้งาน Wiki

การใช้งาน  Wiki
       ปัจจุบันโปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีการพัฒนาเป็นระบบสารานุกรมสาธารณะ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทำให้เราสามารสร้างและแก้ไขหน้าเว็บเพจขึ้นมาใหม่ผ่านทางบราวเซอร์อย่างง่าย โดยไม่ต้องสร้างเอกสาร html เหมือนแต่ก่อน แต่เน้นการทำระบบสารานุกรมและรวบรวมความรู้หลายแขนงเข้าไว้ด้วยกัน โดยรองรับภาษามากกว่า 70 ภาษา รวมทั้งภาษาไทยด้วย ปฏิบัติการนี้ได้นำซอฟต์แวร์เพื่อสังคมประเภทระบบสารานุกรมสาธารณะที่ชื่อว่า Wikipedia และ Uncyclopedia มาให้บุคคลรู้จักใช้งานซอฟต์แวร์เพื่อสังคม และสามารถนำไปใช้สร้างองค์ความรู้ได้
                วิกิพีเดีย คือ สารานุกรมที่ร่วมกันสร้างขึ้นโดยผู้อ่าน เป็นเว็บไซต์แบบพิเศษที่เรียกว่า วิกิในลักษณะที่ร่วมกันแก้ไขเป็นไปได้อย่างง่ายดาย มีหลายคนร่วมปรับปรุงวิกิพีเดียอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งคุณก็สามารถร่วมแก้ไขได้ บทความจะมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นทุกการแก้ไข ซึ่งการแก้ไขทุกครั้งถูกเก็บไว้ทั้งหมดในส่วนของประวัติในแต่ละหน้า เนื้อหาในวิกิพีเดียเกิดขึ้นโดยการร่วมเขียนจากอาสาสมัครจากทั่วโลกโดยเว็บไซต์เปิดให้ทุกคนสามารถร่วมแก้ไขได้อย่างอิสระ ซึ่งในปัจจุบันวิกิพีเดียได้รับความนิยมเป็น 1 ใน 10 เว็บที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในโลก
                ขั้นตอนการสมัครสามชิกของวิกิพีเดีย
1.  คลิกสร้างบัญชีผู้ใช้ใหม่ เพื่อทำการสมัคร
2.  ทำการกรอกข้อมูลส่วนตัวลงไปตามหน้าเว็บ
3. เมื่อทำการกรอกครบแล้ว ระบบจะตอบรับ User ของคุณ
คำสั่งในวิกิพีเดีย
                คำสั่งในวิกิพีเดีย เป็นคำสั่งเฉพาะในการจัดรูปแบบและย่อหน้าในวิกิพีเดียในตารางด้านล่างคอมลัมน์ซ้ายจะแสดงผลลัพธ์ของคำสั่ง และคอลัมน์ขวาจะแสดงว่าคำสั่งอะไรที่จะต้องพิมพ์เข้าไปเพื่อให้ได้ผลลัพธ์นั้น การแก้ไขสามารถทดลองได้ โดยภายหลังการทดลองให้กด แสดงตัวอย่าง
ด้านล่างเพื่อดูผลที่เกิดขึ้นหรือถ้าอยากทดลองหลายๆ คำสั่งพร้อมบันทึกไว้ ให้ลองทดลองในหน้า วิกิพีเดีย: กระบะทราย ซึ่งเป็นหน้าสำหรับทดบองการเขียนบทความในบางหมวดหมู่
วิธีการใส่ภาพ
                อธิบายถึงการนำภาพมาใช้ในวิกิพีเดีย ซึ่งภาพที่ใช้นั้นจะต้องอัปโหลดที่หน้าอัปโหลดของวิกิพีเดียไทย หรือหน้าอัปโหลดของคอมมอนส์เท่านั้น สำหรับภาพที่ถูกอัปโหลดไว้แล้วในวิกิพีเดียไทย สามารถดูได้ที่รายการภาพหรือห้องภาพใหม่ สำหรับคอมมอนส์นั้น สามารถหาดูได้ที่ วิกิพีเดียคอมมอนส์ ก่อนนำภาพมาใช้งานควรศึกษานโยบายการใช้ภาพ ส่วนวิธีการอัปโหลดภาพดูได้ที่วิกิพีเดีย : การอัปโหลดภาพ การใส่ภาพแบ่งเป็น
                1. การใส่ภาพปกติ
                2. การกำหนดขนาดและตำแหน่งอัตโนมัติ
                3. การกำหนดขนาดและไม่มีกรอบรูป
                4. การใส่ภาพเป็นชุดหรือแกลอรี

ปฏิบัติการที่ 11 การใช้งาน Online Bookmarking

การใช้งาน Online Bookmarking
ปฏิบัติการ
       ปัจจุบันนี้การค้นหาข่าวสารความรู้ต่าง ๆ เป็นเรื่องง่ายกว่าสมัยก่อนมาก เพราะความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบนระบบเครือข่าย ก่อให้เกิดเครือข่ายที่ใหญที่สุด และเป็นที่รวบรวมความรู้ต่าง ๆ มากมาย นั่นก็คือ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ข้อมูลที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตนั้นมีมากมาย ไม่วาจะเป็นข้อความ รูปภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์วีดีโอ และไฟล์ข้อมูลแบบต่าง ๆ ทำให้ในบางครั้งการค้นหาข้อมูลบางอย่างกอาจจะเป็นเรื่องยาก เพราะข้อมูลส่วนใหญ่นั้น ยังไม่มีการแยกหมวดหมู่เอาไว้
       ปฏิบัติการนี้จะแนะนำซอฟต์แวร์เพื่อสังคมที่เรียกว่า Online Bookmarking เป็นลักษณะการเก็บข้อมูล Bookmark บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสำหรับจัดประเภทและบันทึก URL ของเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่น่าสนใจ นอกจากนั้นแล้วผู้ใช้ยังสามารถที่จะกำหนด Tag หรือให้คำนิยามกับเว็บไซต์นั้น ๆ ตามความคิดเห็นของแต่ละคน ซึ่งแต่ละคน ซึ่งแต่ละเว็บไซต์นั้นก็สามารถนิยาม (ใส่ Tag) ได้ในหลาย ๆ กลุ่ม เช่น http://www.mirror.in.th/ เป็นเว็บไซต์ที่ทำหน้าที่เก็บและเป็นเหล่งดาวน์โหลดซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สของประเทศไทย บางคนอาจจะให้คำนิยามว่า "backup" "software bank" "mirror" ก็สามารถที่จะให้คำนิยามได้ทั้งหมด สมาชิกสามารถที่จะแชร์ Bookmarking ของตนเองให้กับสมาชิกคนอื่น ๆ ได้ ซึ่งแต่ละคนก็จะให้สามารถที่จะให้คำนิยามเว็บไซต์ต่าง ๆได้เช่นกัน สิ่งที่จะได้ก็คือ
       1. จะสามารถแยกประเภทของเว็บไซต์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งมาจากการให้คำนิยามเว็บไซต์ของสมาชิก
       2. สามารถที่จะแชร์ Bookmarking กับสมาชิกอื่น ๆ ได้
       3. สามารถค้นหารายการลิงค์ที่ต้องการได้ภายหลังจากคำนิยามที่กำหนด
       4. สามารถที่จะทราบแนวโน้มความสนใจเว็บไซต์ประเภทต่าง ๆ ของคนในโลกจาก Tag Cloud

ปฎิบัติการที่ 10 การใช้ Blogger

การใช้ Blogger
ปฏิบัติการ
       ปัจจุบันได้มีการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ เพื่อรองรับการทำงานร่วมกันของกลุ่มผู้ใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ที่อยู่ต่างท้องถิ่นทั่วโลก โปรแกรมประยุกต์บนเว็บเหล่านี้มีวัตถุประสงค์ที่จะใช้เป็นเครื่องมือที่จะแลกเหลี่ยนความรู้ และพบปะของผู้คนที่ใช้งานอินเทอร์เน็ตหรือเรียกว่า ซอฟร์แวร์เพื่อสังคม (Social Software) ปฏิบัติการน้ได้นำซอฟร์แวร์เพื่อสังคมที่ชื่อว่า Blogger ซึ่งเป็นซอฟร์แวร์ประเภทบล็อก มาเป็นบทเรียน
       โปรแกรมประเภทบล็อกเป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ อาจจะเป็นข้อความ รูปภาพ หรือสื่ออื่น ๆ ที่สามารถเก็บบนระบบเครือข่ายได้ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งได้ว่า บล็อกเป็นเหมือน ไดอารีออนไลน์  ที่ผู้ใช้งานสามารถสมัครได้ฟรี บทความต่าง ๆจะถูกบันทึกและเก็บไว้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้ทั่วไป สามารถที่จะค้นหาบทความต่าง ๆ ได้ บางบทความหากผู้ใช้ไม่ต้องการเผยแพร่ก็สามารถที่จะปกปิดไม่ให้ผู้อื่นเห็ฯได้เช่นกัน บทความเหล่านี้เป็นข้อมูลที่มาจากผู้ใช้ ซึ่งหากผู้ใช้งานอื่น ๆ ที่อ่านบล็อกสามารถที่จะแสดงความคิดเห็น บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ เจ้าของบล็อคสามารถที่จะอ่านความคิดเห็นที่ผู้ใช้อื่น มาบันทึกไว้ สามารถลบความคิดเห้ฯที่ไม่ขอบหรือ สามารถทีจะแก้ไขจัดการบล็อคของตนเองได้อย่างเต็มที่ โปรแกรมที่เป้ฯที่นิยมในปัจจุบัน เช่น hi5, MSN Spaces, Bloggang, Blogger และอีกหลายโปรแกรม      
       โปรแกรมนี้เป้นโปรแกรมที่อยู่ในชุดของ Google หรือ Search Engine ที่เรารุ้จัก ดังนั้นหากเป็นสมาชิกอยุ่แล้วสามารถใส่อีเมล์แอดเดรส ที่มีอยุ่ เช่น hotmail หรือหากต้องการใช้ได้พื้อนที่มากขึ้น และต้องการใช้บริการอื่น ๆ ของกูลเกิ้ลให้สมัครด้วยอีเมลล์แอดเดรส (Gmail) หากยังไม่มีอีเมลล์แอดเดรส สามารถดูเอกสารคู่มือการสมัคร อีเมลล์ได้ที่ http://www.informaitcs.buu.ac.th/~310101/download/Gmail_Google.zip

ปฏิบัติการที่ 9 การใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล

การใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
1. การใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
      การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล (File Transfer Protoclo : FTP) เป็นบริการในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกใช้บริการทำสำเนาแฟ้มจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตนมีสิทธิในใช้การใช้งาน หรือจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการให้บริการ FTP สำหรับบุคคลทั่วไปคือไม่ต้องระบุตัวผู้ใช้ (Anonymous FTP) โดยการสำเนาแฟ้มจากเครื่องให้บริการที่อยุ่ระยะไกล (Remote Host) มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้งานกำลังเข้าใช้งานอยู่ (Local Host) เรียกว่า การดาวน์โหลด ส่วนการสำเนาแฟ้มจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้งานอยู่ ไปไว้บนเครื่องให้บริการที่อยู่ระยะไกล เรียกว่า การอัพโหลด

2. การสร้างเอกสารเว็บเพจด้วยโปรแกรมบรรณาธิการ
       การสร้างเอกสารเว็บเพจด้วยโปรแกรมบรรณาธิการ (Text Editor) สามารทถได้โดยใช้ภาษาสำหรับสร้างเว็บเพจ ได้แก่ HTML (Hyper Text Langurge) เป็นรูปแบบของภาษาที่เขียนขึ้น เพื่อนำไปใช้งานในโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เช่น Netscape Navigator, Microsoft Internet Explorer เป็นต้น เอกสารที่สร้างขึ้นโดยใช้ภาษา HTML นี้ ซึ่งต่อไปจะเรียกว่ เอกสาร HTML เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ประเภทข้อความ ดังนั้น การสร้างเอกสาร HTML สามารถทำได้โดยการใช้โปรแกรมประเภทบรรฌธิกรสำหรับจัดการเอกสารที่เป็นข้อความ (Text Editor) และบันทึกแฟ้มเอกสาร HTML ให้มีนามสกุลเป็น .htm หรือ .html เอกสาร HTML มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ
       - ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎบนจอภาพ
       - ข้อความที่เป็นคำสั่งภาษา HTML เรียกว่า HTML Tag ซึ่งประกอบด้วยเครื่องหมาย"<" (Left angle bracket) ตามด้วยชื่อ Tag และ ">" (Right angle bracket)

วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ปฏิบัติการที่ 8 การใช้โปรแกรมรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์

การใช้โปรแกรมรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
1. การใช้งานเมล์ของมหาวิทยาลัยบูรพา
    การเข้าใช้งานเมล์ของมหาวิทยาลัย เพื่อรับ-ส่งจดหมายดิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยบูรพาเปลี่ยนการให้บริการ e-mail ไปใช้งานกับผู้ให้บริการคือ http://www.hotmail.com/  และใช้การบริหารผู้ใช้จากสำนักคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการใช้งานเมล์ของมหาวิทยาลัยจะต้องขอรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านจากสำนักคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยปกติแล้วมหาวิทยาลัยจะสร้างให้เมื่อนิสิตลงทะเบียน

2. การสมัครใช้งาน Free E-mail
       Free e-mail เป็นบริการด้านจดหมาสยอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานบนโปรแกรม Web Browwer โดยที่ไม่จำเป็นต้องติดตั้งโปรแกรมเฉพาะ เช่น โปรแกรม Microsoft Outlook แต่เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาให้สามารถทำงานบนโปรแกรม Web Browser ได้เลย การใช้งานหลัก ๆ เหมือนการใช้โปรแกรมรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป เพียงแต่ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกของฟผู้ให้บริการเว็บเมล์ รายหนึ่งรายใดก่อน โดยการสมัครเป็นสมาชิกใหม่ของแต่ละรายอาจจะมีรูปแบบแตกต่างกัน

บทที่ 11 ปัญหาสังคมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และกฎหมาย

ปัญหาสังคมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และกฎหมาย      
       เข้าใจและรู้แนวทางในการแก้ปัญหาสังคมทีเกิดจากเทคโนโลยี, การใช้จริยธรรมและกฎหมายในการแก้ปัญหาสังคม, กรณีตัวอย่างทีเกียวกับอาชญากรรมและกฎหมายไอที

ปัญหาสังคมที่เกิดจากเทคโนโลยีสนเทศ
1.1 มุมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครืองมือที่มีไว้เพือให้มนุษย์บรรลุวัตถุประสงค์
เมื่อมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครืองมื่อเครืองมือบางอย่างก็มีประโยชน์มาก บางอย่างก็มีประโยชน์น้อย และบางอย่างก็ไม่มีประโยชน์ การเลือกใช้เครืองมือจะส่งผลต่อวิธีการทํางานของมนุษย์ เช่น พฤติกรรมในการเขียนของผู้ใช้โปรแกรมประมวลคําจะแตกต่างไปจากผู้ใช้กระดาษและปากกา เป็นต้น
       ภายใต้มุมมองในลักษณะนี้ เราจะต้องวิเคราะห์และทําความเข้าใจถึงผลกระทบทางสังคมทีจะเกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครืองมือในชีวิตประจําวัน ยกตัวอย่าง เช่น เราอาจต้องการหาคําตอบว่า การทีมนุษย์ใช้โทรศัพท์มือถือ ได้ทําให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเปลียนแปลงไปอย่างไร
ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือไม่มีความจําเป็นจะต้องทําการจดจําหมายเลขโทรศัพท์ ของผู้ทีต้องการติดต่อด้วยอีกต่อไป หรือเราอาจต้องการหาคําตอบว่า อินเทอร์เน็ตมีผลอย่างไรต่อการศึกษา หรือคําตอบจากคําถามทีว่า โทรทัศน์วงจรปิดกระทบกับสิทธิส่วนบุคคลหรือไม่
       ในมุมมองทีว่าเทคโนโลยีเป็นเครืองมือทีมีไว้เพือให้มนุษย์บรรลุวัตถุประสงค์นี้ ได้ถูกวิพากษ์ว่า
เทคโนโลยีจะเป็นตัวกําหนดการคิดและการกระทําของมนุษย์ เช่น การใช้แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์
จะส่งผลต่อความสามารถในการเขียนตัวหนังสือของมนุษย์ เป็นต้น

1.2 มุมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและสังคมต่างก็มีผลกระทบซึงกันและกัน
       ภายใต้มุมมองแบบนี มีความเห็นว่าสังคมส่งผลกระทบต่อเทคโนโลยี ทั้งนี้โดยอาศัยแรงขับเคลื่อนทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจเป็นเหตุปัจจัยในการออกแบบเทคโนโลยี ยกตัวอย่างเช่น
การออกแบบให้คอมพิวเตอร์สามารถทํางานหลาย ๆ งานในขณะเดียวกันได้ เป็นต้น ซึ่งเป็นผลมาจากประเด็นทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ประหยัดทรัพยากรของหน่วยประมวลผลกลาง หรืออีกตัวอย่างหนึงได้แก่
บทที่ กระแสความต้องการการสือสารทีรวดเร็วทัวถึงได้ผลักดันให้เกิดอินเทอร์เน็ต ปัญหาสังคมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และกฎหมาย 7 จาก
       ในขณะเดียวกันเทคโนโลยีสารสนเทศก็ได้ส่งผลกระทบต่อสังคมเช่นกัน การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต ทําให้รูปแบบการติดต่อสือสารของสังคมเปลียนแปลงไป ผู้คนจํานวนมากจะติดต่อกันด้วยอีเมลแทนการเขียนจดหมาย มีการติดต่อซือขายผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการใช้ล่อลวงกันโดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสือมากขึ้น ภายใต้มุมมองในลักษณะนีทังเทคโนโลยีสารสนเทศและสังคมต่างก็มีอิทธิพลซึงกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิงการพัฒนาเปลียนแปลงของเทคโนโลยีก็เป็นผลมาจากกระบวนการทีซับซ้อนและลึกซึงทางสังคมเช่นกัน

1.3 มุมมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นกลไกในการดํารงชีวิตของมนุษย์
       ภายใต้มุมมองในลักษณะนีจะมองว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะเป็นกลไกสําคัญในการกําหนดชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ยกตัวอย่างเช่น การติดต่อสือสารของมนุษย์ จะถูกกําหนดว่าเป็นสิงทีต้องพึงพาเทคโนโลยีซึ่งในโลกนีก็มีเทคโนโลยีการสือสารอยู่หลายรูปแบบ แต่เทคโนโลยีทีมีความเสถียรจะเป็นทางเลือกและมนุษย์จะใช้เป็นกลไกในการดํารงชีวิต ดังเช่น คนทีมีและใช้โทรศัพท์มือถือจะแตกต่างไปจากคนทีไม่มีโทรศัพท์มือถือติดตัว การทีมีโทรศัพท์มือถือแสดงให้เห็นว่าเป็นคนทีสามารถติดต่อได้สะดวกและเข้าถึงได้ง่ายกว่าคนทีไม่มีโทรศัพท์มือถือติดตัว จะเห็นได้ว่ากลไกการดํารงชีวิตของคนทีใช้โทรศัพท์มือถือและไม่ใช้โทรศัพท์มือถือนันแตกต่างกัน เช่น เดียวกัน กลไกในการดํารงชีวิตของสังคมทีใช้อินเทอร์เน็ต

พิจารณาปัญหาสังคม
       จากมุมมองต่าง ๆ ทังสามทีกล่าวมาแล้วข้างต้น เราสามารถนํามาพิจารณาปัญหาสังคมทีอาจจะเกิดขึนกับเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ตลอดจนใช้สังเคราะห์สร้างความเข้าใจต่อปัญหาทางสังคมต่าง ๆ ที่เกิดขึนแล้วในสังคม ทั้งนีก็เพือประโยชน์ในการหาทางป้องกัน แก้ไข หรือบรรเทาปัญหาสังคมทีเกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อไป อย่างไรก็ตามการทีตัดสินว่า กรณีใดเป็นสาเหตุของปัญหาสังคมนัน ไม่ใช่เรืองง่ายเช่นเดียวกันกับวิธีการแก้ปัญหาเหล่านั้น ในแต่ละกรณีนันจะมีความซับซ้อนทีแตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น การแก้ปัญหาเด็กติดเกมส์ ซึงเป็นปัญหาสําคัญปัญหาหนึงในปัจจุบัน วิธีการแก้ปัญหาอาจจะมีหลากหลาย แต่วิธีการทียังยืนกว่าก็คือการสร้างความเข้มแข็งให้กับสมาชิกของสังคมทีจะไม่ลุ่มหลงกับเรื่องหนึ่งเรืองใดมากเกินไป นอกจากนันปัญหาของสังคมเหล่านี้ยังมีความสัมพันธ์กับเรืองของจริยธรรม วัฒนธรรม และการบังคับใช้กฎหมาย หรือมาตรฐานปฏิบัติแห่งสังคมนันๆ อีกด้วยก็จะแตกต่างจากสังคมอืนทีไม่ใช้อินเทอร์เน็ต เป็นต้น

ปัญหาสังคมทีเกิดจากเทคโนโลยีสนเทศ
- ปัญหาเด็กติดเกมส์
- ปัญหาละเมิดลิขสิทธิ
- ปัญหาสังคมเสือมโทรมจากการใช้เทคโนโลยีในทางทีผิด
- ปัญหาอาชญากรรมต่อชีวิตทีเกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ปัญหาการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล เช่น คุกกี
- การนําภาพบุคคลมาตกแต่งดัดแปลงเพือให้เกิดการเข้าใจผิด ฯลฯ

แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1 ใช้แนวทางสร้างจริยธรรม (Ethics)
- ระมัดระวังไม่สร้างความเดือดร้อนเสียหายต่อผู้อืน
- ตัง้ใจทํากิจกรรมจะเสริมสร้างคุณงามความดี และเป็นประโยชน์อยู่เสมอ
- ทําการศึกษาหาความรู้ว่ากิจกรรมประเภทใดเป็นสิงดีมีประโยชน์ต่อเพือนมนุษย์ และกิจกรรมประเภทใดสามารถสร้างความเดือดร้อนให้กับผู้อืนได้

2.2 สร้างความเข้มแข็งให้กับตนเอง
- พึงรําลึกอยู่เสมอว่า ในสังคมของเราทุกวันนียังมีคนไม่ดีปะปนอยู่มากพอสมควร
- หากผู้ใช้เทคโนโลยีเหล่านีในทางทีไม่ดี เทคโนโลยีก็ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมทีไม่ดีไม่เป็นทีพึงปรารถนาให้รุนแรงขึนได้
- ไม่ลุ่มหลงต่อกิจกรรมหนึงกิจกรรมใดจนมากเกินไป

2.3ใช้แนวทางการควบคุมสังคมโดยใช้วัฒนธรรมทีดี
- วัฒนธรรมทีดีสามารถควบคุมและแก้ปัญหาสังคมได้
- เช่น การให้เกียรติซึงกันและกัน ยกย่องในผลงานของผู้อืน
- ผู้ใช้ข้อมูลสารสนเทศของผู้อืนพึงให้เกียรติแหล่งข้อมูล ด้วยการอ้างอิงถึง (citation) เมือนําผลงานของผู้อืนมาใช้ประโยชน์

2.4 การสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคมชุมชน
       พึงตระหนักถึงภัยอันตรายทีมาพร้อมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและหาทางป้องกันภัยอันตรายเหล่านัน เช่น
- การติดตังระบบเพือกลันกรองข้อมูลทีไม่เหมาะสมกับเด็กและเยาวชน
- การให้ความรู้เรืองภัยอันตรายจากอินเทอร์เน็ตต่อสังคม
- การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภัยอันตรายทีมากับ เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การค้นคว้าวิจัยเพือหาความรู้ทีเกียวข้องเพิมเติม

2.5 ใช้แนวทางการเข้าสู่มาตรฐานการบริหารจัดการการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
       มาตรฐานทีเกียวข้องกับการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยลดภัยอันตรายจากเทคโนโลยีสารสนเทศได้ เช่น มาตรฐานการรักษาความมันคงปลอดภัยในการประกอบ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ISO/IEC 17799) มีการกําหนดเรืองความมันคงปลอดภัยทีเกียวข้องกับ
- บุคลากร
- ความมันคงปลอดภัยทางด้านกายภาพ
- สิงแวดล้อมขององค์กร
- การควบคุมการเข้าถึง
- การปฏิบัติตามข้อกําหนดทางด้านกฎหมาย ฯลฯ

2.6 ใช้แนวทางการบังคับใช้ด้วยกฎ ระเบียบ และกฎหมาย
- เช่น การปฏิบัติตามข้อกําหนดทางลิขสิทธิ (Copyright) ในการใช้งานทรัพย์สินทางปัญญา
- การป้องกันข้อมูลส่วนตัวของพนักงาน เป็นต้น

ประเด็นพิจารณาการใช้จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาสังคมที่เกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.1ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และทฤษฎีเรืองจริยธรรม ตัวอย่างเช่น
- ข้อถกเถียงทีเกียวข้องกับผลกระทบจากการใช้วงจรปิด
- การใช้คุกกีในอินเทอร์เน็ต ต่อสิทธิในเรืองความเป็นส่วนตัวของมนุษย์
- ข้อถกเถียงในเรืองผลกระทบจากความแตกต่างในเรืองชนชันทางสังคม ต่อสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล เช่น โอกาสในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของนักเรียนในชนบท
- ข้อถกเถียงในลักษณะของแนวนโยบายในการคุ้มครองผู้ผลิตสินค้าดิจิตอลทีมีผลต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิงกําลังการซือและการใช้สินค้าไอที เป็นต้น

3.2 เทคโนโลยีสารสนเทศกับจริยธรรมและการเมือง ตัวอย่างเช่น
- การสร้างภาพของพระเอกหรือผู้ร้ายในภาพยนตร์
- การเกิดของกระแสโอเพนซอร์สเพือคานอํานาจกับซอฟต์แวร์ให้สิทธิการใช้
- เครืองเอทีเอ็ม ทีออกแบบมาเพือให้ใช้ได้กับคนปกติได้ แต่ไม่สามารถใช้งานได้กับคน ตาบอด หรือคนพิการทีอยู่บนรถเข็นหรือคนทีมีปัญหาในการจํา

3.3 เทคโนโลยีสารสนเทศกับจริยธรรมและความเป็นมนุษย์
- ทัศนคติ อารมณ์ ความรู้สึกทีมนุษย์มี ก่อให้เกิดการรวมกลุ่ม หรือมีการสร้างสังคมรูปแบบเสมือนจริง ในกลุ่มของผู้สนใจ หรือมีแรงปรารถนา (passion) คล้ายคลึงกัน เรียกว่า โลกเสมือนจริง
(virtuality)
- กรณีของการเปลียนแปลงสภาพสังคมในเรืองของโลกเสมือนจริง (virtuality)
แยกกลุ่มตามความสนใจเป็น
       * ชุมชนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต (Cyber Community)
       * การศึกษาแบบเสมือนจริง (Virtual Education)
       * การมีมิตรภาพแบบเสมือนจริง (Virtual Friendships)
       * องค์กรแบบเสมือนจริง (Virtual Organizations)
       * และอืนๆ
- สิงทีอาจเกิดขึนได้ในชุมชนเหล่านี ซึงอาจจะนําไปสู่การล่อลวงได้ ตัวอย่างเช่น
       * คนอ้วนอาจถูกทําให้เข้าใจว่าเป็นคนหุ่นดี

การใช้กฎหมายเพื่อแก้ปัญหาสังคมทีเกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การเกิดขึนของอินเทอร์เน็ตทําให้รูปแบบของปัญหาสังคม ที่เกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศมีความหลากหลายและยุ่งยากมากขึน
- จําเป็นทีต้องมีกลไกในรูปของกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ใช้บังคับ
- ในประเทศไทยได้มีการปฏิรูปกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ทีระบุว่า“รัฐจะต้อง ...
พัฒนาเศรษฐกิจท้องถินและระบบสาธารณูปโภคตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทัวถึงและเท่าเทียมกันทัวประเทศ”
- บรรดาองค์กรระหว่างประเทศต่างเข้ามามีบทบาทในการจัดประชุมเจรจา เพือจัดทํานโยบายและตัวบทกฎหมายด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
- ดังนันจึงถือเป็นเรืองสําคัญทีประเทศไทยจะต้องจัดทํา กฎหมายทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นโครงสร้างพืนฐานในการพัฒนาประเทศ
- ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ในฐานะสํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการเทคโนโลยีแห่งชาติ เป็นแกนกลางในการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศพืนฐาน
โดยมีกรอบสาระของกฎหมายในเรืองต่างๆ ดังนี้
a. กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
b. กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
c. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
d. กฎหมายการแลกเปลียนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
e. กฎหมายลายมือชืออิเล็กทรอนิกส์
f. กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
g. กฎหมายโทรคมนาคม
h. ฎหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ
และการค้าระหว่างประเทศทีเกียวเนืองกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
i. กฎหมายทีเกียวเนืองกับระบบอินเทอร์เน็ต
j. กฎหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์

กรณีศึกษาอาชญากรรมและกฎหมายไอที
กรณีที่1 : นายจ้างเปิด e-mail ลูกจ้างอ่านได้หรือไม่?
กรณีที่2 : Copy รูปภาพ/ข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อืนมาใช้ เป็นการละเมิดลิขสิทธิทุกกรณี หรือเปล่า?
กรณีที่3 : หมินประมาททางอินเทอร์เน็ตกับความรับผิดทางแพ่งหรือไม่?
กรณีที่4 : ทํา Hyperlink ยังไงไม่ให้ละเมิดลิขสิทธิ?
กรณีที่5 : การดาวน์โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเทอร์เน็ตผิดกฎหมายหรือเปล่า?

กรณีที่1 : นายจ้างหรือผู้บังคับบัญชา เปิด e-mail
ลูกจ้างหรือผู้ใต้บังคับบัญชาอ่านได้หรือไม่?
       ในประเทศสหรัฐอเมริกา ถ้าองค์กรนัน ๆ มีการกําหนด User name และ Password ให้กับคนในองค์กร นายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาสามารถเปิดอ่าน e-mail ของลูกจ้างได้ รวมทังสามารถดูแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ
ในฮาร์ดดิสก์คอมพิวเตอร์ของบริษัทได้ เพราะเป็น e-mail สําหรับการปฏิบัติงาน แต่หากเป็น e-mail อืนทีไม่ใช่ขององค์กร จะไม่ได้รับอนุญาตให้เปิดอ่าน หากนายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาละเมิดสิทธิ
ลูกจ้างสามารถฟ้องร้องนายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาให้ชดใช้ค่าเสียหายทางแพ่งได้

กรณีที่2 : การ Copy รูปภาพ/ข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อื่นมาใช้
เป็นการละเมิดลิขสิทธิทุกกรณีหรือเปล่า?
       หากต้องทําการ copy รูปภาพหรือข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อืนมาใช้งาน จําเป็นต้องขออนุญาตเจ้าของเสียก่อน หากนํามาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตจะถือว่าละเมิดลิขสิทธิผิดกฎหมาย หากนําไปใช้เพือการค้าอาจถูกฟ้องเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญาได้ ยกเว้นสําหรับกรณีเพือการศึกษา โดยต้องมีการอ้างอิงและขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ

กรณีที่3 การหมินประมาททางอินเทอร์เน็ต
สามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่? ( 1)
       หากมีการหมินประมาทบุคคลผ่านทางอินเทอร์เน็ต สามารถฟ้องร้องได้ทังคดีอาญา และคดีแพ่ง
การหมินประมาททางแพ่งหมายถึง การบอกกล่าวข้อความอันเป็นเท็จและทําให้เกิดความเสียหายต่อชือเสียง หรือการทํามาหาเลียงชีพของคนอื่น ส่วนใหญ่คดีหมินประมาทจะฟ้องร้องกันเป็นคดีแพ่ง
และเรียกค่าเสียหายกันมากๆ เพือให้จําเลยเข็ดหลาบ คดีแพ่งเรืองหมินประมาท ในประเทศไทยยังมีประเด็นทีน่าสนใจคือ เรื่องศาลทีจะฟ้องคดี
กรณีที การหมินประมาททางอินเทอร์เน็ต
สามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่? (2)
       โจทก์สามารถฟ้องคดีได้ทีศาลทีจําเลยมีภูมิลําเนา อยู่ในเขตหรือศาลทีเป็นทีเกิดของเหตุในการฟ้องคดี การหมินประมาทโดยการโฆษณาหนังสือพิมพ์ฝ่ายผู้เสียหาย อาจถือว่าความผิดเกิดขึนทัวประเทศ จึงทําการตระเวนไปฟ้องตามศาลต่าง ๆ ทั่วประเทศ ส่งผลให้จําเลยต้องตามไปแก้คดี
มีโอกาสละเมิดลิขสิทธิ หากมีการมองว่าเป็นการทําซ้างานอันมีลิขสิทธิ แต่ถ้าการเชือมโยงนันเป็นการเชื่อมโยงต่อไปยังหน้าแรกของเว็บผู้อืนก็สามารถทําได้ แต่ควรขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิให้เรียบร้อย

สามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่? (3)
       หากเป็นการเชือมโยงลึกลงไปถึงเนือหาส่วนอืนของเว็บผู้อืนจะถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิได้
ในกรณีทีไม่ต้องการให้ใครนําเว็บของเราไปเชือมโยงอาจจะระบุไว้ทีเว็บเลยว่า ไม่อนุญาตจะทําให้ผู้ทีเข้ามาเชือมโยงหากยังมีการละเมิดสิทธิก็จะมีความผิดโดยไม่ต้องตีความ

กรณีที่4 : ทํา Hyperlink ยังไงไม่ให้ละเมิดลิขสิทธิ?

 กรณีที่5 : โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเทอร์เน็ตผิดกฎหมายหรือเปล่า?
– การ Download
โปรแกรมทางอินเทอร์เน็ตมาใช้งานแบบถูกต้องตามกฎหมายโดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ ก็ต่อเมือโปรแกรมทีผู้ใช้ Download มาใช้นัน ถูกระบุว่าเป็นประเภท Freeware, Shareware, Open Source
– สําหรับการโหลดเพลงทางอินเทอร์เน็ต สามารถทําได้โดยไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ หากได้รับอนุญาต
– แต่โดยทัวไปแล้วค่ายเพลงมักจะไม่อนุญาต ยกเว้นจะทําเพือการค้า

บทที่ 10 ปัญหาที่เกิดจากคอมพิวเตอร์และมาตรการควบคุม

ปัญหาที่เกิดจากคอมพิวเตอร์และมาตรการควบคุม 
       ความรู้และความเข้าใจในการปกป้องข้อมูลเมือใช้อินเทอร์เน็ตภัยจากโปรแกรมทีประสงค์ร้าย เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์, Phishing,Firewall, Proxy, Cookies และอืนๆ มาตรการทีใช้ควบคุม ป้องกัน ภัยคุกคามด้านจริยธรรมความรู้เรืองการยศาสตร์      

รู้และเข้าใจความสําคัญของความปลอดภัยในการปกป้องข้อมูลเมือใช้อินเทอร์เน็ต
ทําไมต้องสนใจความปลอดภัยเมือใช้งานอินเทอร์เน็ต?
- เพราะมีเครืองทีต่ออยู่กับอินเทอร์เน็ตและมีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจํานวนมากมาย
- จะเห็นได้ว่าเป็นใครก็ได้ทีเข้าใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
- เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีทรัพย์สมบัติทางด้านข้อมูลจํานวนมาก
- หากมีระบบทีใช้ป้องกันไม่พอเพียงรวมทังผู้ใช้ยังมีความรู้ไม่พอในการป้องกันตัวเอง ระบบของเราอาจจะโดนโจมตีได้

การป้องกันตนเองจากการโจมตี เมื่อใช้อินเทอร์เน็ต
       เครือข่ายทีเราใช้งาน อาจมีลักษณะทีเรียกว่า เครือข่ายภายในองค์กร (Intranet) ควรมีการป้องกันตนเองจากการโจมตีดังกล่าว
ซึ่งทําได้หลายวิธีดังต่อไปนี้
– การดูแลและจัดการกับ Cookies
– การป้องกัน Malicious Code เช่น ไวรัส เป็นต้น
– การใช้ Firewall

ความรู้เบื่องต้นเกียวกับไวรัสคอมพิวเตอร์
       ไวรัสคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือชุดคําสัง ทีมนุษย์เขียนขึนมา มีวัตถุประสงค์เพือรบกวนการทํางานหรือทําลายข้อมูล
รวมถึงแฟ้มข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ นําขยะหรือข้อมูลอืนๆ ไปซ้อนทับข้อมูลเดิม บางส่วนทีถูกต้องอยู่แล้วในแฟ้มข้อมูลหนึง ๆ ทําให้แฟ้มข้อมูลเดิมผิดเพียนไปจากเดิม ควบคุมการทํางานของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แทนระบบเดิม โดยกําหนดให้ ระบบปฏิบัติหยุดการทํางานบางหน้าที ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบคอมพิวเตอร์ เพิมเติมบางคําสังลงในโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
ทําให้แสดงผลเป็นข้อความอันเป็นเท็จทางจอภาพ
เพือเตือนให้ผู้ใช้ทําอะไรบางอย่าง ซึงอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบได้เปลี่ยนข้อมูลในโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลหนึงๆ
ซึ่งเจ้าของไม่รู้สึกว่าแฟ้มข้อมูลของตนเองติดไวรัส เมื่อมีการใช้หรือสําเนาแฟ้มดังกล่าวไปยังทีอืน ๆ ก็จะส่งผลให้ติดไวรัสตามไปด้วย

ไวรัสคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ดังต่อไปนี
1. Application viruses       จะมีผล หรือมีการแพร่กระจายไปยังโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ เช่น โปรแกรมประมวลคํา หรือ โปรแกรมตารางคํานวณการตรวจสอบการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ ทําได้โดยดูจากขนาดของแฟ้มว่ามีขนาดเปลียนไปจากเดิมมากน้อยแค่ไหน เช่น ถ้าแฟ้มมีขนาดใหญ่ขึ้น นั้นหมายถึงแฟ้มดังกล่าวอาจได้รับการติดเชือจากไวรัสชนิดนี้
2. System viruses
       ไวรัสชนิดนีจะติดหรือแพร่กระจายในโปรแกรมจําพวกระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมระบบอื่น ๆ โดยไวรัสชนิดนีมักจะแพร่เชือในขณะทีเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์

โดยทั่วไปเราอาจแบ่งแยกไวรัสเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ยาก จึงจะกล่าวไว้เป็นภาพรวมดังต่อไปนี้
เวอร์ม (Worm)
       เวอร์ม (Worm) หมายถึง โปรแกรมซึงเป็นอิสระจากโปรแกรมอืนๆ โดยจะแพร่กระจายผ่านเครือข่ายไปยังคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทีอยู่บนเครือข่าย
การแพร่กระจายจะคล้ายกับตัวหนอนและแพร่พันธุ์ด้วยการคัดลอกตนเองออกและส่งต่อผ่านเครือข่ายออกไป ตัวอย่าง เช่น เวอร์มทีแนบมากับแฟ้มในอีเมล
เมือผู้รับเปิดแฟ้มดังกล่าวเวอร์มจะทําเริมทํางานทันทีโดยจะคัดลอกตนเองและจะถูกส่งไปกับอีเมลไปให้ผู้อืนต่อๆ ไป

โลจิกบอมบ์ (Logic bombs) หรือ ม้าโทรจัน (Trojan Horses)
       โลจิกบอมบ์ (Logic bombs) หรือ ม้าโทรจัน (Trojan Horses) หมายถึง โปรแกรมซึงถูกออกแบบมาให้มีการทํางานในลักษณะถูกตังเวลาเหมือนระเบิดเวลา เช่น ม้าโทรจัน ซึ่งถูกออกแบบมาให้แฝงตัวเองเข้าไปในระบบและจะทํางานโดยการดักจับเอา รหัสผ่านเข้าสู่ระบบต่างๆ และส่งกลับไปยังเจ้าของหรือผู้ส่ง เพื่อบุคคลดังกล่าวสามารถเข้าใช้หรือโจมตีระบบในภายหลัง
โลจิกบอมบ์ (Logic bombs) หรือ ม้าโทรจัน (Trojan Horses)
– โปรแกรมม้าโทรจันสามารถแฝงมาในได้ในหลายรูปแบบ เช่น game , e-mail
– ม้าโทรจัน ต่างจากไวรัสและหนอนคือมันไม่สามารถทําสําเนาตัวเองและแพร่กระจายตัวเองได้แต่มันสามารถทีจะอาศัยตัวกลาง
– เมือเรียกใช้งานไฟล์เหล่านี้โปรแกรมม้าโทรจันก็จะทํางานและจะเปิดช่องทางต่างๆให้ผู้บุกรุกเข้าโจมตีระบบได้

ข่าวไวรัสหลอกลวง (Hoax)
       ข่าวไวรัสหลอกลวง (Hoax) เป็นข่าวทีต้องการให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เข้าใจผิด มักถูกส่งมาใน E-mail หรือส่งข้อความต่อๆกันไปผ่านทางโปรแกรมรับส่งข้อความหรือห้องสนทนาต่างๆ ซึงสามารถสร้างความวุ่นวายได้ หัวเรืองของ E-mail จะน่าสนใจ อาจอ้างบริษัทหรือองค์กรขนาดใหญ่เพือสร้างความเชือมัน การป้องกันและแก้ไขคือไม่ควรส่งต่อ E-mail ทีได้รับไปให้คนอืน ๆ หรือควรตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลทีถูกต้องก่อนทําการส่งต่อไป

แนวทางหรือมาตรการในการป้องกัน (Security Measures)
1. การกําหนดแนวปฏิบัติหรือระเบียบปฏิบัติและนโยบายทัวๆ ไปในองค์กร อาทิเช่น เปลียนรหัสผ่านบ่อยๆ , กําหนดสิทธิเข้าใช้ , สํารองข้อมูล , มีการเก็บ Log files เป็นต้น
2. การป้องกันโดยซอฟต์แวร์ (Virus protection software)
3. ใช้เทคนิควิธีช่วยป้องกันการเข้าถึงข้อมูล เช่น
- ลายมือชืออิเล็กทรอนิกส์ (Digital signatures)
- การเข้าและถอดรหัส (Encryption)

ความรู้เบืองต้นเกียวกับการหลอกลวงบนอินเทอร์เน็ต (Phishing)
       Phishing คือ การหลอกลวงทางอินเทอร์เน็ตอย่างหนึง โดยใช้วิธีการปลอมแปลงอีเมล์ติดต่อไปยังผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยหลอกให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเป็นจดหมายจากองค์กร หรือบริษัท ห้างร้านทีผู้ใช้ทําการติดต่อ หรือเป็นสมาชิกอยู่ เนื้อหาจดหมายอาจเป็นข้อความหลอกให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลส่วนตัวซึงเป็น ความลับ และมีความสําคัญ การหลอกลวงนี ทําให้ผู้ใช้หลงเชือได้ง่าย เนื่องจากผู้หลอกลวงจะสร้างเว็บปลอมขึนมาซึงเหมือนกับเว็บจริงมากและแนบลิงค์มากับอีเมล์ลวง
เมื่อผู้ใช้หลงเชือก็จะคลิกไปทีลิงค์ดังกล่าว ซึงเป็นเว็บปลอม (SpoofedWebsite) และดําเนินการป้อนข้อมูลความลับทีสําคัญไป ผู้หลอกลวงก็จะได้ข้อมูลดังกล่าวไป และนําไปใช้แทนตัวเราได้

วิธีป้องกันและรับมือกับ Phishing
- ควรติดตังโปรแกรมตรวจสอบไวรัส และ Firewall เพือป้องกันการรับ อีเมลทีไม่พึงประสงค์ หรือการสือสารจากผู้ทีไม่ได้รับอนุญาต
- ควรติดตังโปรแกรมปรับปรุงช่องโหว่ (Patch) ของซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่เราใช้งานอยู่ ตลอดเวลา
- ในการกรอกข้อมูลส่วนตัวทีสําคัญใดๆ ทีเว็บไซต์หนึงๆ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าเป็นเว็บไซต์ทีถูกต้องและปลอดภัย ซึ่งเว็บไซต์ทีปลอดภัยจะใช้โปรโตคอล https:// แทน http://
- ควรตรวจสอบข้อมูลบัญชีธนาคาร บัตรเครดิตต่างๆ ที่มีการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นประจํา

ข้อควรรู้ทางเทคนิคเกี่ยวกับมาตรการในการเข้าถึงข้อมูล
Firewall
       Firewall (ไฟร์วอลล์) คือรูปแบบรูปแบบของโปรแกรมหรืออุปกรณที่ถูกจัดตั้งอยูบนเครือขายเพื่อทําหนาที่ เป็นเครืองมือรักษาความปลอดภัย ให้กับเครือข่ายภายใน (Intranet) โดยป้องกันผู้บุกรุก(Intrusion) ทีมาจากเครือข่ายภายนอก (Internet) หรือเป็นการกําหนดนโยบายการควบคุมการเข้าถึงระหว่างเครือข่ายสองเครือข่าย โดยสามารถกระทําได้โดยวิธีแตกต่างกันไป แล้วแต่ระบบ

ลักษณะของ Firewall
- ไม่อนุญาตการ Login สําหรับผู้ใช้ทีไม่มีสิทธิในการเข้าใช้งานในเครือข่าย
- แต่ผู้ใช้ทีมีสิทธิใช้งานจะมีสิทธิใช้งานทั้งภายในและติดต่อภายนอกเครือข่ายได้ โดยจํากัดข้อมูลจากภายนอกเครือข่าย ไม่ให้เข้ามาในเครือข่าย
- ไม่สามารถป้องกันการโจมตีจากภายในเครือข่ายกันเอง
- ไม่สามารถป้องกันการบุกรุกทีสามารถมากับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ, ไวรัส และอันตรายในรูปแบบวิธีใหม่ๆได้

Proxy
- Proxy เป็นโปรแกรมทีทํางานอยู่บนไฟร์วอลล์ ทีตังอยู่ระหว่างเครือข่ายเครือข่าย
- ทําหน้าทีเพิมความปลอดภัยของระบบเครือข่าย โดยการควบคุมการเชือมต่อระหว่างเครือข่ายภายในและภายนอก

หลักการทํางานของ Proxy
- เมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในระบบภายใน (Intranet) ทําการติดต่อไปยังระบบภายนอก (Internet) เช่น ไปยังเว็บหนึงๆ คอมพิวเตอร์นันจะติดต่อไปยัง proxy server ก่อนและ proxy server จะทําหน้าทีติดต่อเว็บนันให้
- เมือเว็บได้รับการร้องขอก็จะทําการส่งข้อมูลมายัง proxy server ก่อนและ proxy server จะทําการส่งข้อมูลเหล่านันให้กับเครืองคอมพิวเตอร์ในระบบ Intranet ที่มีการร้องขอเว็บนันต่อไป

ประโยชน์ของ Proxy
- Proxy server สามารถถูกใช้เพือเก็บข้อมูลเหตุการณ์การใช้งานระหว่างเน็ตเวิร์กภายในและรับส่งข้อมูลระหว่างอินเทอร์เน็ท เช่น URL, วันเวลาทีใช้งาน,
จํานวนไบต์ทีดาวน์โหลด เป็นต้น
- สามารถกําหนดเงือนไขให้กับ Proxy server ในการรักษาความปลอดภัยของระบบภายในได้ เช่น การกําหนดให้ระบบภายใน ดาวน์โหลดไฟล์จากอินเทอร์เน็ตได้แต่ไม่อนุญาตให้ระบบภายนอกดาวน์โหลดไฟล์จากระบบภายในได้
- Proxy server สามารถช่วยเพิมความเร็วได้ โดยการสร้างแคชข้อมูลเว็บทีเคยถูกร้องขอ

ข้อควรรู้ทางเทคนิคในการป้องกันการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
Cookie Cookie คือ แฟ้มข้อมูลชนิดอักขระ (Text) ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ทําการจัดเก็บไว้ทีฮาร์ดดิสค์ของผู้ทีไปเรียกใช้งานเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น
ข้อมูลทีอยู่ในไฟล์ Cookie นีจะเป็นข้อมูลทีเรากรอกทีเว็บไซต์ใด ๆ หรือมีการทําธุระกรรมต่าง ๆ ทีเว็บไซต์นันแล้วเว็บไซต์นันได้มีการจัดเก็บข้อมูลเช่น ชื่อ นามสกุล ทีอยู่ อีเมล์ ชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน ของเราเอาไว้ทีไฟล์นี้
แต่ละเว็บไซต์ก็มีการจัดเก็บข้อมูลทีแตกต่างกันไป ข้อมูลใน Cookie นีก็จะเป็นประโยชน์สําหรับเว็บไซต์ เมื่อเราเข้าไปใช้งานเว็บไซต์ในครังถัดๆไป ก็สามารถดูข้อมูลจาก Cookie นี้เพือให้ทราบว่าผู้ทีเข้าใช้เป็นใคร และมีข้อมูลส่วนตัวอะไรบ้าง

ข้อมูล Cookie ถูกเคลื่อนย้ายอย่างไร
       เมื่อเราพิมพ์ URL ของเว็บไซต์หนึ่งไปยังโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ เพื่อร้องขอให้เว็บไซต์นันแสดงเว็บเพจ บนเว็บเบราเซอร์ทีเราใช้งานอยู่
โปรแกรมเว็บเบราเซอร์จะทําการตรวจสอบทีฮาร์ดดิสค์ ว่ามีไฟล์ Cookie ที เว็บไซต์นันเคยเก็บไว้หรือไม่ ถ้าพบไฟล์ Cookie ทีเว็บไซต์นันสร้างไว้ โปรแกรมเว็บ เบราเซอร์จะทําการส่งข้อมูลทีอยู่ในไฟล์ Cookie นั้นไปยังเว็บไซต์นั้นด้วย 
ถ้าหากไม่มีไฟล์ Cookie ส่งไปให้กับเว็บไซต์
เว็บไซต์นันก็จะทราบว่าผู้ใช้พึงเคยเข้ามาใช้งานเว็บไซต์เป็นครั้งแรก เว็บไซต์ก็จะสร้างแฟ้มข้อมูลชนิด text ซึ่งก็คือ Cookie นั้นเอง ซึ่งมีข้อมูลหมายเลขที่ถูกกําหนดขึนมาโดยเว็บไซต์และอาจมีข้อมูลอื่นๆ แล้วส่งมาเก็บไว้ทีฮาร์ดดิสค์ของผู้ใช้ในการเข้าใช้งานเว็บไซต์ครังต่อๆไป เว็บไซต์ก็สามารถทีจะทําการเพิมเติมข้อมูลเปลียนแปลงแก้ไขข้อมูลในไฟล์ Cookie นี้ได้

เว็บไซต์ใช้ Cookie เพื่ออะไร
- เพื่อให้ทราบจํานวนผู้ทีเข้ามาใช้งานเว็บไซต์
- สําหรับเว็บไซต์ E-commerce ต่าง ๆ สามารถใช้ cookie เก็บข้อมูลสินค้าทีลูกค้าได้เลือกใส่ตะกร้าไว้แต่ยังไม่ชําระเงินได้

ข้อควรระวังที่เกี่ยวกับ Cookie
- ข้อมูล Cookie อาจถูกลักลอบขโมยข้อมูลส่วนตัวจากบุคคลอืนได้ในระหว่างการถ่ายโอนไฟล์ไปมาระหว่างเครืองผู้ใช้และเว็บไซต์ ซึ่งผู้ใช้ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลต่างๆ แก่เว็บไซต์
- หากเราไม่มันใจในเว็บไซต์ใดๆ ที่ไปเราสามารถทีจะไม่อนุญาตให้มีการสร้างไฟล์ Cookie เก็บไว้ทีฮาร์ดดิสค์ของเราก็ได้ ซึ่งเว็บเบราเซอร์จะแสดงข้อความถามความสมัครใจของเราว่าจะอนุญาตหรือไม่

มาตรการควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ต
ภัยคุกคามอันเกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต
       ปัจจุบันภัยคุกคามอันเกิดจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตมีมากมาย เช่น ภัยจาก เรืองเว็บลามกอนาจาร ปัจจุบันมีความพยายามทีจะแก้ไขปราบปราม การเผยแพร่อย่างต่อเนือง

มาตรการควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ต
       “ผู้ใดประสงค์แจกจ่ายแสดง อวดทําผลิตแก่ประชาชนหรือทําให้เผยแพร่ซึงเอกสาร ภาพระบายสีสิงพิมพ์ แถบบันทึกเสียง บันทึกภาพหรือเกียวเนืองกับสิงพิมพ์ดังกล่าว มีโทษจําคุก ปรับหรือทังจําทังปรับ” ตัวอย่างซอฟต์แวร์ได้แก่ House Keeper เป็นโปรแกรมสําหรับแก้ปัญหา “ภาพลามกอนาจาร
เนื้อหาสาระทีไม่เหมาะสม การใช้เว็บไม่เหมาะไม่ควร ฯลฯ” โดยนําไปติดตังกับเครืองคอมพิวเตอร์ทีบ้าน

คําแนะนําเบืองต้นในการใช้อินเทอร์เน็ต
- ควรตังเครืองคอมพิวเตอร์ไว้ในทีโล่งทีผู้ปกครองสามารถมองเห็นหน้าจอระหว่างทีเด็ก ๆ ใช้งานได้
- ผู้ปกครองเองก็ควรเรียนรู้เพือใช้อินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมด้วย
- มีจิตสํานึกรับผิดชอบและการเอาใจใส่ต่อความถูกต้องเหมาะควร

การยศาสตร์ (Ergonomics)
       คือ การศึกษาการใช้งานเครืองมือเครืองกลต่าง ๆ เกิดขึนมาพร้อม ๆ อุปกรณ์ไฮเทคสมัยใหม่ต่าง ๆ ทังนีเพือลดปัญหาจากการใช้วัตถุเหล่านัน
เช่น การติดตัง และวิธีการใช้งานของคีย์บอร์ด, จอมอนิเตอร์, เม้าส์,เก้าอี, การปรับระดับแสง เป็นต้น

คําแนะนําการใช้งานคีย์บอร์ด
       ควรใช้ถาดเลือนคีย์บอร์ดและมีทีวางเมาส์ไว้ข้าง ๆ ควรตังคีย์ไม่ให้สูงหรือต่าจนเกินไปให้แขนวางในมุมตังฉาก นังโดยไหล่ไม่ห่อ
หากคีย์บอร์ดอยู่ต่ากว่าโต๊ะทีวางจอมอนิเตอร์ให้ปรับคีย์บอร์ดในระดับทีขนานกับพืน ผู้ทีเป็นคนไหล่กว้างควรใช้คีย์บอร์ดแบบแยกไม่ควรลงน้าหนักการพิมพ์แรง ๆ จะทําให้ปวดข้อมือได้ ควรปล่อยให้ข้อมืออยู่ในลักษณะทีเป็นธรรมชาติ ให้ข้อศอกอยู่ในมุมทีเปิด องศาหรือมากกว่า ให้หัวไหล่ผ่อนคลายและข้อศอกอยู่ข้างลําตัวลําตัวของผู้ใช้คีย์บอร์ดควรอยู่ตรงกลางไม่เอียงไปทางซ้ายหรือขวาของ คีย์บอร์ด ไม่วางมือบนทีรองแขน ทําได้เฉพาะตอนพักจริง ๆ ถ้าเป็นไปได้อาจจะหาโปรแกรมพิมพ์ด้วยเสียงมาใช้ ซึ่งขึนกับเทคโนโลยีทีพัฒนาขึนเรือย ๆ

คําแนะนําการใช้จอคอมพิวเตอร์
- ควรติดตังจอมอนิเตอร์ให้อยู่ตรงกลาง
- ควรนังห่างจากจอประมาณ ช่วงแขนจะเป็นการถนอมสายตา
- ตําแหน่งด้านบนของจอควรให้อยู่ในระดับสายตาและให้แหงนหน้าจอขึนเล็กน้อย
- ตรวจไม่ไห้เกิดแสงสะท้อนพร้อมปรับระดับแสงสว่างให้พอดีกับแสงสว่างโดยรอบของห้อง
- ใช้สีและขนาดอักษรให้เห็นได้ชัดเจน
- อย่าจ้องหน้าจอเป็นเวลานานเพราะจะทําให้แสบตา ควรใช้หลัก 20:20:20
- คือหยุดพักสัก 20 วินาที หลังจากทํางาน 20 นาที และมองไปไกล 20 ฟุต จะช่วยให้สายตาได้พักและปรับโฟกัส ป้องกันสายตาสัน
- เคล็ดลับการรักษาความสะอาดหน้าจอจาก ฝุ่นและคราบต่าง ๆ จะทําให้มองเห็นได้ชัดเจน ทังยังเป็นการกระทําทีถูก

คําแนะนําการใช้เมาส์
- อย่าเกร็งข้อมือเพือจับเมาส์จะทําให้เกิดอาการบาดเจ็บทีโพรงกระดูกข้อมือได้
- หากต้องทํางานตลอดวัน การงอข้อมือและกดทับบนโต๊ะ จะทําให้เส้นเอ็นหรือเส้นประสาททีข้อมือเกิดอาการปวดได้
- ในระยะยาวอาจจะเกิดการอักเสบ นําไปสู่การปวด ชา และปวดรุนแรงทีนิวมือได้

คําแนะนําการใช้งานเก้าอี้
- เก้าอีควรมีขนาดพอดีตัวไม่เล็กเกินไป
- สามารถปรับระดับความสูงได้
- เท้าต้องวางขนานกับพืน เวลานังพนักพิงควรราบไปกับหลังไม่ควรนังงอตัว
- ควรนังพิงพนักให้เต็ม
- เบาะเก้าอีไม่ควรแหงนขึนหรือแหงนลง ควรจะขนานกับพื้น
- ท่านังควรเป็นมุม องศา หัวเข่าตังฉากกับพืน ฝ่าเท้าแนบขนานกับพืน
- ควรนังให้ตัวตรง ปรับเก้าอีให้อยู่ในตําแหน่งทีรู้สึกสบายเพือให้ไม่ปวดหลัง
- ควรเดินไปทํากิจกรรมอืน ๆ บ้าน เพือป้องกันการเมือยล้า

คําแนะนําการใช้งานเกียวกับแสง
- ควรใช้โคมไฟบนโต๊ะทํางานสีขาวทีมีความสว่างเพียงพอต่อการมองเห็น
- ตําแหน่งของแสงไฟควรจะปรับขึนลงได้
- การใช้ผ้าม่านจะช่วยควบคุมแสงจากภายนอก
- หลอดไฟทีใช้ก็ควรให้แสงสว่างในโทนเดียวกันในห้องทีผนังมีสีไม่ฉูดฉาดเกินไป

วันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 9 ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม

ซอฟต์แวร์สังคม
       ซอฟต์แวร์สังคม คือ ซอฟต์แวร์ทีทําให้ผู้คนสามารถนัดพบปะเชื่อมสัมพันธ์หรือทํางานร่วมกัน โดยมีคอมพิวเตอร์เป็นสือกลางเกิดเป็นสังคม หรือชุมชนออนไลน์ เช่น
– E-mail
– Instant messaging
– WEB
– Blog
– Wiki เป็นต้น
ส่วนการจําแนกกลุ่มของซอฟต์แวร์สังคม แบ่งได้ กลุ่มดังต่อไปนี้
       - กลุ่มทีใช้ประโยชน์ในการติดต่อสือสารผ่านอินเทอร์เน็ต
       - กลุ่มทีใช้ประโยชน์ในการจัดการความรู้

เครื่องมือทีใช้ในการติดต่อสือสาร
1. เครื่องมือเพื่อการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
       - เครืองมือทีใช้ในการสือสารสองฝ่ายไม่พร้อมกัน (asynchronous) ไม่ว่าจะเป็นการเขียน ส่งเสียง ส่งเป็นวีดีโอ
ตัวอย่างเช่น การใช้ E-mail เป็นต้น --> การส่งจดหมาย
       - เครืองมือทีช่วยในการสือสารคนสองคนหรือเป็นกลุ่ม แบบสองฝ่ายพร้อมกัน (synchronous ) เช่น
การสนทนาผ่านโปรแกรม Chat เป็นต้น --> การโทรศัพท์
2. เครื่องมือเพือการสร้างการจัดการความรู้
       - เป็นเครืองมือในกลุ่มทีใช้เพือประโยชน์เพือการจัดการความรู้ มีหลายอย่าง โดยแบบเบืองต้น เช่น การสืบค้นข้อมูล
       - ส่วนในระดับถัดมา เป็นเครืองมือเพือการใช้ข้อมูลร่วมกันรวมทั้งให้ความรู้ และสร้างความรู้ใหม่ เช่น Wiki , Blog
เป็นต้น

ตัวอย่างเครืองมือทางสังคม
1. Blog
2. Internet Forum
3. Wiki
4. Instant Messaging
5. Folksonomy
6. KUI (Knowledge Unifying Initiator)

Blog
- Blog มาจากคําเต็มว่า WeBlog บางครังอ่านว่า We Blog บางคนอ่านว่า Web Log
- Blog คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนือหาเป็นเรืองใดก็ได้
ซึ่งข้อมูลประกอบด้วยข้อความ, รูป และลิงค์
- การเพิมบทความให้กับ blog ทีมีอยู่ เรียกว่า “blogging”
- บทความใน blog เรียกว่า “posts” หรือ “entries”
- บุคคลทีโพสลงใน “entries”เรียกว่า “blogger”

จุดเด่นของ Blog
1. เป็นเครืองมือสือสารชนิดหนึงที่สามารถสือถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อกและผู้อ่านทีเป็นกลุ่มเป้าหมายได้ชัดเจน
2.มีความสะดวกและง่ายในการเขียน Blog ทําให้สามารถเผยแพร่ความคิดเห็นของผู้เขียน blog ได้ง่ายขึ้น
3. Comment จากผู้ทีสนใจเรืองเดียวกันบางครังทําให้ เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ

ข้อแตกต่างของ Blog กับเว็บประเภทอื่น– การใส่ข้อมูลใหม่ทําได้ง่าย
– มี template อัตโนมัติช่วยจัดการ
– มีการกรองเนือหาแยกตามวัน ประเภทผู้แต่งหรืออืนๆ
– ผู้ดูแลจัดการ blog สามารถเชิญ หรือ เพิมผู้แต่งคนอื่นโดยจัดการเรืองการอนุญาตและการเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย
– เจ้าของ blog จะเป็นผู้สร้างหัวข้อสนทนาเท่านัน

Blog และวิถีของผู้คน
- Blogger หลายคนสนับสนุนแนวคิดเรือง open source
- Blog ส่งผลกระทบต่อสังคมได้ เช่นบาง Blog นั้นลูกจ้างอาจจะก่อรําคาญใจต่อนายจ้างและทําให้บางคนถูกไล่ออก
- คนใช้ Blog ในทางอืนๆ เช่นส่งข้อความสู่สาธารณะ อาจจะมีปัญหาตามมาได้ คือการไม่เคารพทรัพย์สินทางปัญญา หรือการให้ข่าวทีไม่น่าเชือถือได้
- บางครังการสร้างข่าวลือก็เอือประโยชน์ต่อสือสารมวลชนทีสนใจเรืองนัน ๆ ได้
- Blog เป็นการรวบรวมความคิดของมนุษย์สามารถนํามาใช้ช่วยกับปัญหาด้านจิตวิทยา , อาชญากรรม , ชนกลุ่มน้อย ฯลฯ
- Blog เป็นช่องทางเผยแพร่งานพิมพ์อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ

Internet Forum
- ทําหน้าทีคล้าย bulletin board และ newsgroup
- มีการรวบรวมข้อมูลทัวๆไป เช่น เทคโนโลยี, เกม,คอมพิวเตอร์, การเมือง ฯลฯ
- ผู้ใช้สามารถโพสหัวข้อลงไปในกระดานได้
- ผู้ใช้คนอืนๆ ก็สามารถเลือกดูหัวข้อหรือแม้กระทังโพส ความคิดเห็นของตนเองลงไปได้

Wiki
- Wiki อ่านออกเสียง "wicky", "weekee" หรือ "veekee"
- สามารถสร้างและแก้ไขหน้าเว็บเพจขึนมาใหม่ผ่านทางบราวเซอร์ โดยไม่ต้องสร้างเอกสาร html เหมือนแต่ก่อน
- Wiki เน้นการทําระบบสารานุกรม, HOWTOs ทีรวมองค์ความรู้หลายๆ แขนงเข้าไว้ด้วยกันโดยเฉพาะ
มีเครืองมือทีใช้ทํา Wiki หลายอย่าง เช่น Wikipedia เป็นต้น
- Wikipedia เป็นระบบสารานุกรม(Encyclopedia) สาธารณะ ที่ทุกคนสามารถใส่ข้อมูลลงไปได้ รองรับภาษามากกว่า
ภาษารวมทังภาษาไทย
- มีการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์วิกิทีสําคัญยิงในการสร้างสารานุกรมที่เปิดโอกาสให้ใครก็ได้มาร่วมกันสร้างสารานุกรมที่ http://www.wikipedia.org/
- วิกิพีเดียในภาคภาษาไทยที http://th.wikipedia.org/
- ในปัจจุบันวิกิพีเดียถือว่าเป็นแหล่งความรู้ทีสําคัญ
- ซอฟต์แวร์เพือสังคมทีดีพึงคงคุณลักษณะของการเปิดพืนทีให้กับปัจเจกบุคคลในการสือต่อสาธารณะโดยมีการควบคุมน้อยที่สุด
- เพื่อให้การประมวลสังคมเป็นไปอย่างอิสระปราศจากการครอบงําจากเจ้าของเทคโนโลยีให้มากทีสุด
- ดังนันการสร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์เพือสังคมใดๆ พึงตระหนักถึงหลักการเคารพในสิทธิของปัจเจก (individual)
ให้มากทีสุดเท่าทีจะทําได้

Instant Messaging
- เป็นการอนุญาตให้มีการติดต่อสือสารระหว่างบุคคลบนเครือข่ายทีเป็นแบบ relative privacy
- ตัวอย่างเช่น Gtalk , Skype , Meetro , ICQ , Yahoo Messenger , MSN Messenger และ AOL Instant Messenger เป็นต้น

Folksonomy
ก่อนหน้าการกําเนิดขึนของปัจเจกวิธาน โดยทัวไปแล้ว ได้มีการจัดกลุ่มการจัดระเบียบและค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตโดยทั่วไปมี แบบ คือ
- ค้นหาในเนือความ (Text Search)
- เรียงเนือหาตามลําดับเวลา (Chronological)
- แยกตามกลุ่มประเภท (Category, Classification)

ค้นหาในเนือความ (Text Search)
- ตัวอย่างเช่น Google ทีก่อตังโดย Sergery Brin และ Larry Page
- ได้ออกแบบเพือจัดอันดับความสําคัญของเว็บโดยคํานวณจากการนับ Link จากเว็บอืนทีชีมาทีเว็บหนึง ๆ
- เป็นทีน่าติดตามว่าจะมีเทคนิควิธีในการค้นหาข้อมูลใหม่ ๆ

เรียงเนือหาตามลําดับเวลา (Chronological)
- เนือหาข้อมูลจะถูกจัดเก็บเรียงลําดับเวลาโดยแสดงตามเวลาใหม่ล่าสุดก่อน
- เช่น เว็บไซต์ประเภทข่าว อย่าง CNN, BBC และ google news เนื้อหาเก่าจะตกไปอยู่ด้านล่าง
- Blog ก็ใช้วิธีจัดเรียงตามเวลาเช่นกัน
- ทั้งนี้หากต้องการอ่านเนือหาเก่าก็สามารถคลิกดูทีปฏิทินได้

แยกตามกลุ่มประเภท (Category, Classification)
- การจัดระเบียบแบบนียึดเอาหัวข้อเป็นหลัก แล้วแยกประเภทออกไป เช่น แบ่งหนังสือเป็นประเภทธุรกิจ, หนังสือเด็ก, นวนิยาย, คอมพิวเตอร์, ศาสนา, วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ลักษณะอืน ๆ
- จะช่วยให้ค้นหาข้อมูลได้ง่ายขึน

ปัญหาทีเกียวกับข้อมูลข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต มีดังต่อไปนี
- เนื้อหามีปริมาณเพิมขึนอย่างรวดเร็วรายวัน
- การค้นหาข้อมูลทีตรงตามความต้องการมากทีสุดทําได้ยากเนื่องจากเนือหาทีมีจํานวนมาก
- การค้นหาข้อมูลเฉพาะด้านทีขึนกับความสนใจของผู้ทําการค้นไม่ตรงจุด
- ข้อมูลทีพบอาจจะขาดความน่าเชือถือ

ตัวอย่างโครงการทีใช้อาสาสมัครมาช่วยกันจัดระเบียบกลุ่ม
- โครงการ Open Directory Project (http://dmoz.org/)
- แม้กระนันก็ตามโครงการนีก็ยังไม่สามารถโตได้ทันกับการเติบโตของเว็บทังหมดได้เลย นีเองเป็นแรงผลักให้เกิดระบบ ปัจเจกวิธาน ขึน
- เป็นรูปแบบหนึงในการจัดการข่าวสารความรู้สําหรับปัจเจกบุคคลอันนํามาซึ่งประโยชน์อันกว้างขวางในการศึกษาความสนใจและพฤติกรรมของกลุ่มชนหรือสังคมโดยรวมได้

กําเนิดปัจเจกวิธาน
- Joshua Schachter เริมรวบรวมเก็บเว็บต่าง ๆ เป็น Bookmark ของตนเองคนเดียวไว้มากและใช้ Keyword เพือจัดกลุ่มแทน
- เช่น “search engine tools” และ “password security tools” เมื่อต้องการเรียกเว็บทีมีคําว่า tools
ก็จะสามารถดึงรายชือเว็บทังหมดออกมาได้ทันที
- ปัจเจกวิธาน เรียก keyword นีว่า tag เป็นคําสัก 2-7
- คําทีเกียวกับเว็บใหม่ทีสามารถจัดเป็นกลุ่มเว็บได้

Tag
- วิธีการใช้ tag นีมีความสะดวกตรงทีไม่ต้องจําลําดับชันการจัดระเบียบเช่นเดิม การค้นเจอเว็บก็ได้จาก tag หลาย ๆ ตัวได้ ไม่จํากัดอยู่แต่ข้อมูลใน Folder เดียวกัน Joshua นําให้ทุก ๆ คนสามารถตรวจดูเว็บทีมีการตังชือ tag โดยผู้อืนได้

       คําว่า Folksonomy นี มีทีมาจากการที ใครก็ได้ทุก ๆ คน (Folk) มีสิทธิในการจัดทําอนุกรมวิธาน (Taxonomy) หรือ
จัดกลุ่มประเภทหมวดหมู่ของเอกสารในโลกอินเทอร์เน็ตให้อยู่ในแบบที ตนเข้าใจ ต่างจากการทํา Taxonomy เช่น การจัดประเภทสัตว์หรือพืช ทีอาศัย ผู้รู้เป็นผู้ดําเนินการและให้ผู้อืนจัดว่าอะไรควรจะอยู่ประเภทไหนตามทีผู้รู้นั้นได้กําหนดไว้แล้ว

คุณลักษณะพิเศษ ที่ได้จากปัจเจกวิธาน
- กระแสการติดตามเว็บใหม่ ๆ ตามชือ Tag (Stream and Feed)
- การเห็นกลุ่ม Tag ก่อตัวกันมองคล้ายกลุ่มเมฆ ตามหัวเรืองทีสนใจ (Tag Cloud)
- การให้คะแนนความนิยม (Rating and Popularity)
- การท่องอินเทอร์เน็ตอย่างทีมีเนือหาข้อมูลข้ามสายกัน (Cross-Navigation)

กระแสการติดตามเว็บใหม่ (Stream and Feed)
       จากตัวอย่าง มีหน้าเฉพาะสําหรับ Tag คําว่า Tools ซึ่งก็อาจจะมีหน้าเฉพาะอืน ๆ ให้ เข้าไปติดตาม Tag เฉพาะใด ๆ ได้เช่น ถ้าท่านสนใจเรืองภาษาไทย ท่านอาจจะตามอ่านได้จากหน้า “tag/thai” หรือ “tag/thai+language”
นอกจากนียังมีการสร้าง RSS feed สําหรับหน้าดังกล่าว เพือใช้เตือนทาง RSS reader ว่ามีเนือหาใหม่ ๆ ตาม Tag ดังกล่าว เกิดขึนเพิมขึนมา

กลุ่ม Tag ก่อตัวกันมองคล้ายกลุ่มเมฆ (Tag Cloud)
       เมื่อมีการใส่ tag เป็นจํานวนมากแล้ว ระบบของ ปัจเจกวิธาน สามารถแสดงภาพรวมออกมาได้ว่า ทุก ๆ คนใช้ tag ใดมากน้อยเพียงใด Tag ใดทีมีคนใช้มาก ก็จะตัวใหญ่ tag ใดใช้น้อยก็จะตัวเล็ก การแสดงภาพรวมนีสามารถทําได้ทังของทุก ๆ คนรวมกัน หรือ เฉพาะบุคคลไป (ซึงจะชีให้เห็นได้ว่าบุคคลนั้นสนใจเรื่องใดบ้าง)

การให้คะแนนความนิยม (Rating and Popularity)
- การทีเว็บมีข้อมูลจํานวนมาก ทําให้ยากต่อการตัดสินใจเลือกว่าข้อมูลใด น่าสนใจทีสุด
- ระบบของ ปัจเจกวิธาน ช่วยแก้ปัญหานีได้โดยการแสดงจํานวนผู้ใช้ทีได้ใส่ tag ให้กับเว็บนัน ๆ ถ้ามีจํานวนผู้ใช้ทีใส่
tag มาก ก็แสดงว่าเว็บนันเป็นทีนิยม

เนื้อหาข้อมูลข้ามสายกัน (Cross-Navigation)
- การใช้แกนในการค้นหาถึงสามอย่างได้ช่วยให้พบข้อมูลใหม่ ๆ เพิมขึน แกนดังกล่าวได้แก่
- User: เว็บทังหมดทีผู้ใช้ผู้นีใส่ tag ให้และเรียกดู tag cloud ของผู้ใช้ผู้นีได้ด้วย
- Tag: เว็บทังหมดทีมีการใส่ tag และเรียกดู tag ทีเกียวข้องได้ด้วย
- URL: เว็บเว็บนีมีใครใส่ tag บ้าง และใส่ว่าอะไรบ้าง การค้น อาจจะเริมจากที User แล้วไปทีแกน tag และทําให้พบ tag
ทีเกียวข้องได้อีก โดยไม่ได้ตังใจไว้ก่อนแต่แรก

การใช้ tag สามารถพบได้ในการนําไปกับเนือหาอืน ๆ
- Flickr.com เก็บ และ ใส่ tag ให้กับรูปภาพ
- CiteULike.org เก็บและใส่ tag ให้เอกสารงานวิจัย (academic paper)
- 43Things.com บันทึกสิงทีอยากทําในชีวิตพร้อมกับใส่ tag ให้กิจกรรมนัน
- Tagzania.com บันทึกสถานที และใส่ tag ให้กับสถานทีหรือแผนที

อนาคตของ ปัจเจกวิธาน (Folksonomy)
- ระบบการใช้ tag จะมีการนําไปประยุกต์ใช้กับ Blog และ Wiki เพื่อความสะดวกให้การค้นหาความรู้ต่าง ๆ
ทีบรรจุไว้ในซอฟต์แวร์ทังสอง
- ในระยะยาวอาจจะมีการแข่งขันของโปรแกรมลักษณะนีอีกก็เป็นไปได้ โดยทีอาจจะมีคุณลักษณะเพิมเติมทีง่ายต่อการใช้งานและมีความสามารถใหม่ ๆ

KUI (Knowledge Unifying Initiator)
- Knowledge Unifying Initiator หมายถึง กลุ่มผู้รวบรวมความรู้ โดย KUI จัดว่าเป็นซอฟต์แวร์ทางสังคม (Social Software) และการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
- KUI ประกอบด้วย หมวดหลักดังนี
- Localization เป็นการเสนอคําแปลความหมายของประโยค วลีหรือคําศัพท์
- Opinion Poll เป็นการเสนอความคิดเห็นจากการสํารวจความคิดเห็น
- Public Hearing เป็นข้อเสนอแนะ การตีความ ประชาพิจารณ์ร่างกฎหมาย
       KUI มีประโยชน์ในการสร้างความรู้ใหม่ ๆ คือมีการเสนอประเด็นความเห็นร่วมกัน ซึ่งโต้แย้งถกเถียงได้คล้ายเว็บบอร์ด
แต่มีสิงทีแตกต่างจากเว็บบอร์ด คือ ถ้าประเด็นความเห็นใดสมาชิกให้คะแนน (Vote) น้อย หรือคนไม่สนใจประเด็นนันก็จะถูกลบออกไป โดยเกณฑ์การให้คะแนน (Vote) นัน ต้องมีสมาชิกให้คะแนนไม่ต่ากว่าร้อยละ ของสมาชิกทีได้ทําการลงทะเบียน การใช้งาน KUI แบ่งออกเป็น ส่วน คือ สําหรับบุคคลทั่วไปและสําหรับสมาชิก นอกจากนียังมีส่วน Dictionary จะแสดงผลข้อมูลคําศัพท์และใน Documentationsเป็นการอธิบายการทํางานในแต่ละโมดูลสมาชิกสามารถเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและอภิปรายได้ แต่ถ้าหัวข้อใดทีสมาชิกเป็นคนเพิมเข้าไปเองก็จะสามารถแก้ไขชื่อ

การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์เพือสังคม
       ใช้ประโยชน์ในการประมวลทางสังคม (social computing) ในยุคทีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (ICT) เป็นทุนในการพัฒนาสังคม ในยุคนีมีความจําเป็นจะต้องสร้างระบบทีก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมจากสมาชิกในสังคมให้มากทีสุด
เช่น การเปิดพืนทีการมีส่วนร่วมใหม่ให้กับภาคประชาสังคมเพื่อให้ประชาคมในทุกภาคส่วนได้มีโอกาสทีจะเข้าถึงและทํางานเพื่อสังคมของตนด้วยตนเอง ให้มากทีสุดเท่าทีจะทําได้ ในการออกแบบซอฟต์แวร์เพือสังคมจึง เน้นให้คงความเป็นปัจเจก (individual) ของบุคคลไว้การให้โอกาสปัจเจกบุคคลสามารถแสดงออกสู่สาธารณะเพือสนับสนุนให้มีการตอ
บสนองจากสังคมอย่างเท่าเทียมเป็นปารถนาสูงสุดของการประมวลทาง

การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์ Blog
- เป็นซอฟต์แวร์เพือสังคมทีสามารถใช้เพือการเสนอ (post) ข้อความต่อผู้อืนในสังคมและอนุญาตให้ผู้อ่านบล็อกมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น (comment) ต่อข้อความทีเสนอได้
- ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทัวไปจะสามารถใช้บล็อกได้โดยไม่ต้องมีความรู้ทางเทคนิคมากนัก
- บล็อกจะเรียงลําดับตามเหตุการณ์จากปัจจุบันไปอดีตจึงเป็นโอกาสทีผู้ใช้จะใช้บันทึกเหตุการณ์ทีเกียวข้องกับตัวผู้บันทึกได้ในทุกๆ เรื่องตามประสงค์ของผู้บันทึก
- บล็อกจึงสามารถใช้เป็นแหล่งข้อมูลเบืองต้นในกระบวนการการจัดการความรู้ การสร้างลักษณะนิสัยให้ประชาคมในสังคมรักการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในบล็อกจะเป็นประโยชน์อย่างมากในอนาคตของสังคมนัน

การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์ Folksonomy
- ใช้เพือประโยชน์ในการจัดหมวดหมู่ แห่งสรรพสิงทีผู้ใช้สนใจโดยผู้จัดหมวดหมู่เป็นผู้กําหนดเอง
- ปัจจุบันยังไม่มีปัจเจกวิธานตัวใดทีสามารถใช้จัดหมวดหมู่ได้ทุกสรรพสิ่งแต่มีซอฟต์แวร์ปัจเจกวิธานเฉพาะเรืองให้เลือกใช้ เช่น
- การจัดหมวดหมู่ของรูปภาพ สามารถใช้บริการที http://www.flickr.com/
- การกําหนดตําแหน่งทางภูมิศาสตร์ สามารถใช้บริการที http://www.tagzania.com/
- การจัดหมวดหมู่ลิงค์เชืองโยงในอินเทอร์เน็ตทีสนใจได้แก่ http://del.icio.us/
- ประโยชน์อย่างมากของปัจเจกวิธานก็คือการเปิดโอกาสผู้ใช้ได้มีโอกาสในการจัดหมวดหมู่สารสนเทศทีสามารถใช้เป็นแหล่งความรู้ได้ด้วยตนเองได้โดยปราศจากการบงการ (เพียงแต่ให้คําแนะนําทีเป็นประโยชน์) จากผู้อืนหรือจากระบบแต่อย่างใดเจตจํานงสําคัญของการใช้ซอฟต์แวร์เพือสังคมอันหนึงก็คือ
- การเปิดโอกาสให้ปัจเจกบุคคลได้มีโอกาสในการสือสารต่อสาธารณะเพื่อประมวลสังคมของพวกเขาได้ด้วยตนเอง
- การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์เพือสังคมก็เช่นเดียวกันที่เป็นเรืองทีปัจเจกบุคคลจะมีอิสรเสรีในการเลือกประโยชน์ทีต้องการด้วยตัวเอง
- ดังนั้นคําตอบในเรืองประโยชน์จากซอฟต์แวร์เพือสังคม
จึงเป็นคําตอบทีท่านต้องตังคําถามให้ไว้กับตนเองตอบนันเอง

ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม “คุย” หรือ “KUI”
- มีวัตถุประสงค์เพือให้เกิดการทํางานร่วมกันในสังคม ในลักษณะของการแลกเปลียนความรู้
- เป็นการเปิดโอกาสให้ปัจเจกบุคคลสามารถเข้ามาทํางานร่วมกันโดยแต่ละคนมีอิสรเสรีในการนําเสนอความรู้ในเรืองทีตนสนใจ
- โปรแกรม “คุย” ใช้หลักการของการเคารพความเห็นของส่วนรวมปฏิบัติตามความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่
แต่ยังรับฟังความคิดเห็นทีดีของคนส่วนน้อย
- โปรแกรมคุยสามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้กับเหตุการณ์ต่างๆ ที่กําลังเป็นทีสนใจของประชาชน และใช้ประโยชน์เพือจรรโลงสังคมได้
- โปรแกรม “คุย”
สามารถถูกนําไปใช้ในโครงการเพือสร้างความเข้าใจอันดีในภารกิจของคณะกรรมก
ารตรวจสอบการกระทําทีก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ เช่น

   - การเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ในภารกิจของคณะกรรมการตรวจสอบ
   - เปิดพืนทีให้ภาคประชาชนได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลในส่วนทีเกียวข้องและเป็นประโยชน์ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
   - เป็นพืนทีทีคณะกรรมการตรวจสอบสามารถใช้เพือแจ้งข่าวสารข้อเท็จจริงและสารสนเทศอื่นๆ ที่สามารถส่งเสริมและสร้างความเข้าใจอันดีต่อกิจกรรมการตรวจสอบของคณะกรรมการฯ ได้