วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 10 ปัญหาที่เกิดจากคอมพิวเตอร์และมาตรการควบคุม

ปัญหาที่เกิดจากคอมพิวเตอร์และมาตรการควบคุม 
       ความรู้และความเข้าใจในการปกป้องข้อมูลเมือใช้อินเทอร์เน็ตภัยจากโปรแกรมทีประสงค์ร้าย เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์, Phishing,Firewall, Proxy, Cookies และอืนๆ มาตรการทีใช้ควบคุม ป้องกัน ภัยคุกคามด้านจริยธรรมความรู้เรืองการยศาสตร์      

รู้และเข้าใจความสําคัญของความปลอดภัยในการปกป้องข้อมูลเมือใช้อินเทอร์เน็ต
ทําไมต้องสนใจความปลอดภัยเมือใช้งานอินเทอร์เน็ต?
- เพราะมีเครืองทีต่ออยู่กับอินเทอร์เน็ตและมีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจํานวนมากมาย
- จะเห็นได้ว่าเป็นใครก็ได้ทีเข้าใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
- เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีทรัพย์สมบัติทางด้านข้อมูลจํานวนมาก
- หากมีระบบทีใช้ป้องกันไม่พอเพียงรวมทังผู้ใช้ยังมีความรู้ไม่พอในการป้องกันตัวเอง ระบบของเราอาจจะโดนโจมตีได้

การป้องกันตนเองจากการโจมตี เมื่อใช้อินเทอร์เน็ต
       เครือข่ายทีเราใช้งาน อาจมีลักษณะทีเรียกว่า เครือข่ายภายในองค์กร (Intranet) ควรมีการป้องกันตนเองจากการโจมตีดังกล่าว
ซึ่งทําได้หลายวิธีดังต่อไปนี้
– การดูแลและจัดการกับ Cookies
– การป้องกัน Malicious Code เช่น ไวรัส เป็นต้น
– การใช้ Firewall

ความรู้เบื่องต้นเกียวกับไวรัสคอมพิวเตอร์
       ไวรัสคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือชุดคําสัง ทีมนุษย์เขียนขึนมา มีวัตถุประสงค์เพือรบกวนการทํางานหรือทําลายข้อมูล
รวมถึงแฟ้มข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ นําขยะหรือข้อมูลอืนๆ ไปซ้อนทับข้อมูลเดิม บางส่วนทีถูกต้องอยู่แล้วในแฟ้มข้อมูลหนึง ๆ ทําให้แฟ้มข้อมูลเดิมผิดเพียนไปจากเดิม ควบคุมการทํางานของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แทนระบบเดิม โดยกําหนดให้ ระบบปฏิบัติหยุดการทํางานบางหน้าที ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบคอมพิวเตอร์ เพิมเติมบางคําสังลงในโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
ทําให้แสดงผลเป็นข้อความอันเป็นเท็จทางจอภาพ
เพือเตือนให้ผู้ใช้ทําอะไรบางอย่าง ซึงอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบได้เปลี่ยนข้อมูลในโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลหนึงๆ
ซึ่งเจ้าของไม่รู้สึกว่าแฟ้มข้อมูลของตนเองติดไวรัส เมื่อมีการใช้หรือสําเนาแฟ้มดังกล่าวไปยังทีอืน ๆ ก็จะส่งผลให้ติดไวรัสตามไปด้วย

ไวรัสคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ดังต่อไปนี
1. Application viruses       จะมีผล หรือมีการแพร่กระจายไปยังโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ เช่น โปรแกรมประมวลคํา หรือ โปรแกรมตารางคํานวณการตรวจสอบการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ ทําได้โดยดูจากขนาดของแฟ้มว่ามีขนาดเปลียนไปจากเดิมมากน้อยแค่ไหน เช่น ถ้าแฟ้มมีขนาดใหญ่ขึ้น นั้นหมายถึงแฟ้มดังกล่าวอาจได้รับการติดเชือจากไวรัสชนิดนี้
2. System viruses
       ไวรัสชนิดนีจะติดหรือแพร่กระจายในโปรแกรมจําพวกระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมระบบอื่น ๆ โดยไวรัสชนิดนีมักจะแพร่เชือในขณะทีเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์

โดยทั่วไปเราอาจแบ่งแยกไวรัสเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ยาก จึงจะกล่าวไว้เป็นภาพรวมดังต่อไปนี้
เวอร์ม (Worm)
       เวอร์ม (Worm) หมายถึง โปรแกรมซึงเป็นอิสระจากโปรแกรมอืนๆ โดยจะแพร่กระจายผ่านเครือข่ายไปยังคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทีอยู่บนเครือข่าย
การแพร่กระจายจะคล้ายกับตัวหนอนและแพร่พันธุ์ด้วยการคัดลอกตนเองออกและส่งต่อผ่านเครือข่ายออกไป ตัวอย่าง เช่น เวอร์มทีแนบมากับแฟ้มในอีเมล
เมือผู้รับเปิดแฟ้มดังกล่าวเวอร์มจะทําเริมทํางานทันทีโดยจะคัดลอกตนเองและจะถูกส่งไปกับอีเมลไปให้ผู้อืนต่อๆ ไป

โลจิกบอมบ์ (Logic bombs) หรือ ม้าโทรจัน (Trojan Horses)
       โลจิกบอมบ์ (Logic bombs) หรือ ม้าโทรจัน (Trojan Horses) หมายถึง โปรแกรมซึงถูกออกแบบมาให้มีการทํางานในลักษณะถูกตังเวลาเหมือนระเบิดเวลา เช่น ม้าโทรจัน ซึ่งถูกออกแบบมาให้แฝงตัวเองเข้าไปในระบบและจะทํางานโดยการดักจับเอา รหัสผ่านเข้าสู่ระบบต่างๆ และส่งกลับไปยังเจ้าของหรือผู้ส่ง เพื่อบุคคลดังกล่าวสามารถเข้าใช้หรือโจมตีระบบในภายหลัง
โลจิกบอมบ์ (Logic bombs) หรือ ม้าโทรจัน (Trojan Horses)
– โปรแกรมม้าโทรจันสามารถแฝงมาในได้ในหลายรูปแบบ เช่น game , e-mail
– ม้าโทรจัน ต่างจากไวรัสและหนอนคือมันไม่สามารถทําสําเนาตัวเองและแพร่กระจายตัวเองได้แต่มันสามารถทีจะอาศัยตัวกลาง
– เมือเรียกใช้งานไฟล์เหล่านี้โปรแกรมม้าโทรจันก็จะทํางานและจะเปิดช่องทางต่างๆให้ผู้บุกรุกเข้าโจมตีระบบได้

ข่าวไวรัสหลอกลวง (Hoax)
       ข่าวไวรัสหลอกลวง (Hoax) เป็นข่าวทีต้องการให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เข้าใจผิด มักถูกส่งมาใน E-mail หรือส่งข้อความต่อๆกันไปผ่านทางโปรแกรมรับส่งข้อความหรือห้องสนทนาต่างๆ ซึงสามารถสร้างความวุ่นวายได้ หัวเรืองของ E-mail จะน่าสนใจ อาจอ้างบริษัทหรือองค์กรขนาดใหญ่เพือสร้างความเชือมัน การป้องกันและแก้ไขคือไม่ควรส่งต่อ E-mail ทีได้รับไปให้คนอืน ๆ หรือควรตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลทีถูกต้องก่อนทําการส่งต่อไป

แนวทางหรือมาตรการในการป้องกัน (Security Measures)
1. การกําหนดแนวปฏิบัติหรือระเบียบปฏิบัติและนโยบายทัวๆ ไปในองค์กร อาทิเช่น เปลียนรหัสผ่านบ่อยๆ , กําหนดสิทธิเข้าใช้ , สํารองข้อมูล , มีการเก็บ Log files เป็นต้น
2. การป้องกันโดยซอฟต์แวร์ (Virus protection software)
3. ใช้เทคนิควิธีช่วยป้องกันการเข้าถึงข้อมูล เช่น
- ลายมือชืออิเล็กทรอนิกส์ (Digital signatures)
- การเข้าและถอดรหัส (Encryption)

ความรู้เบืองต้นเกียวกับการหลอกลวงบนอินเทอร์เน็ต (Phishing)
       Phishing คือ การหลอกลวงทางอินเทอร์เน็ตอย่างหนึง โดยใช้วิธีการปลอมแปลงอีเมล์ติดต่อไปยังผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยหลอกให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเป็นจดหมายจากองค์กร หรือบริษัท ห้างร้านทีผู้ใช้ทําการติดต่อ หรือเป็นสมาชิกอยู่ เนื้อหาจดหมายอาจเป็นข้อความหลอกให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลส่วนตัวซึงเป็น ความลับ และมีความสําคัญ การหลอกลวงนี ทําให้ผู้ใช้หลงเชือได้ง่าย เนื่องจากผู้หลอกลวงจะสร้างเว็บปลอมขึนมาซึงเหมือนกับเว็บจริงมากและแนบลิงค์มากับอีเมล์ลวง
เมื่อผู้ใช้หลงเชือก็จะคลิกไปทีลิงค์ดังกล่าว ซึงเป็นเว็บปลอม (SpoofedWebsite) และดําเนินการป้อนข้อมูลความลับทีสําคัญไป ผู้หลอกลวงก็จะได้ข้อมูลดังกล่าวไป และนําไปใช้แทนตัวเราได้

วิธีป้องกันและรับมือกับ Phishing
- ควรติดตังโปรแกรมตรวจสอบไวรัส และ Firewall เพือป้องกันการรับ อีเมลทีไม่พึงประสงค์ หรือการสือสารจากผู้ทีไม่ได้รับอนุญาต
- ควรติดตังโปรแกรมปรับปรุงช่องโหว่ (Patch) ของซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่เราใช้งานอยู่ ตลอดเวลา
- ในการกรอกข้อมูลส่วนตัวทีสําคัญใดๆ ทีเว็บไซต์หนึงๆ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าเป็นเว็บไซต์ทีถูกต้องและปลอดภัย ซึ่งเว็บไซต์ทีปลอดภัยจะใช้โปรโตคอล https:// แทน http://
- ควรตรวจสอบข้อมูลบัญชีธนาคาร บัตรเครดิตต่างๆ ที่มีการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นประจํา

ข้อควรรู้ทางเทคนิคเกี่ยวกับมาตรการในการเข้าถึงข้อมูล
Firewall
       Firewall (ไฟร์วอลล์) คือรูปแบบรูปแบบของโปรแกรมหรืออุปกรณที่ถูกจัดตั้งอยูบนเครือขายเพื่อทําหนาที่ เป็นเครืองมือรักษาความปลอดภัย ให้กับเครือข่ายภายใน (Intranet) โดยป้องกันผู้บุกรุก(Intrusion) ทีมาจากเครือข่ายภายนอก (Internet) หรือเป็นการกําหนดนโยบายการควบคุมการเข้าถึงระหว่างเครือข่ายสองเครือข่าย โดยสามารถกระทําได้โดยวิธีแตกต่างกันไป แล้วแต่ระบบ

ลักษณะของ Firewall
- ไม่อนุญาตการ Login สําหรับผู้ใช้ทีไม่มีสิทธิในการเข้าใช้งานในเครือข่าย
- แต่ผู้ใช้ทีมีสิทธิใช้งานจะมีสิทธิใช้งานทั้งภายในและติดต่อภายนอกเครือข่ายได้ โดยจํากัดข้อมูลจากภายนอกเครือข่าย ไม่ให้เข้ามาในเครือข่าย
- ไม่สามารถป้องกันการโจมตีจากภายในเครือข่ายกันเอง
- ไม่สามารถป้องกันการบุกรุกทีสามารถมากับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ, ไวรัส และอันตรายในรูปแบบวิธีใหม่ๆได้

Proxy
- Proxy เป็นโปรแกรมทีทํางานอยู่บนไฟร์วอลล์ ทีตังอยู่ระหว่างเครือข่ายเครือข่าย
- ทําหน้าทีเพิมความปลอดภัยของระบบเครือข่าย โดยการควบคุมการเชือมต่อระหว่างเครือข่ายภายในและภายนอก

หลักการทํางานของ Proxy
- เมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในระบบภายใน (Intranet) ทําการติดต่อไปยังระบบภายนอก (Internet) เช่น ไปยังเว็บหนึงๆ คอมพิวเตอร์นันจะติดต่อไปยัง proxy server ก่อนและ proxy server จะทําหน้าทีติดต่อเว็บนันให้
- เมือเว็บได้รับการร้องขอก็จะทําการส่งข้อมูลมายัง proxy server ก่อนและ proxy server จะทําการส่งข้อมูลเหล่านันให้กับเครืองคอมพิวเตอร์ในระบบ Intranet ที่มีการร้องขอเว็บนันต่อไป

ประโยชน์ของ Proxy
- Proxy server สามารถถูกใช้เพือเก็บข้อมูลเหตุการณ์การใช้งานระหว่างเน็ตเวิร์กภายในและรับส่งข้อมูลระหว่างอินเทอร์เน็ท เช่น URL, วันเวลาทีใช้งาน,
จํานวนไบต์ทีดาวน์โหลด เป็นต้น
- สามารถกําหนดเงือนไขให้กับ Proxy server ในการรักษาความปลอดภัยของระบบภายในได้ เช่น การกําหนดให้ระบบภายใน ดาวน์โหลดไฟล์จากอินเทอร์เน็ตได้แต่ไม่อนุญาตให้ระบบภายนอกดาวน์โหลดไฟล์จากระบบภายในได้
- Proxy server สามารถช่วยเพิมความเร็วได้ โดยการสร้างแคชข้อมูลเว็บทีเคยถูกร้องขอ

ข้อควรรู้ทางเทคนิคในการป้องกันการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
Cookie Cookie คือ แฟ้มข้อมูลชนิดอักขระ (Text) ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ทําการจัดเก็บไว้ทีฮาร์ดดิสค์ของผู้ทีไปเรียกใช้งานเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น
ข้อมูลทีอยู่ในไฟล์ Cookie นีจะเป็นข้อมูลทีเรากรอกทีเว็บไซต์ใด ๆ หรือมีการทําธุระกรรมต่าง ๆ ทีเว็บไซต์นันแล้วเว็บไซต์นันได้มีการจัดเก็บข้อมูลเช่น ชื่อ นามสกุล ทีอยู่ อีเมล์ ชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน ของเราเอาไว้ทีไฟล์นี้
แต่ละเว็บไซต์ก็มีการจัดเก็บข้อมูลทีแตกต่างกันไป ข้อมูลใน Cookie นีก็จะเป็นประโยชน์สําหรับเว็บไซต์ เมื่อเราเข้าไปใช้งานเว็บไซต์ในครังถัดๆไป ก็สามารถดูข้อมูลจาก Cookie นี้เพือให้ทราบว่าผู้ทีเข้าใช้เป็นใคร และมีข้อมูลส่วนตัวอะไรบ้าง

ข้อมูล Cookie ถูกเคลื่อนย้ายอย่างไร
       เมื่อเราพิมพ์ URL ของเว็บไซต์หนึ่งไปยังโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ เพื่อร้องขอให้เว็บไซต์นันแสดงเว็บเพจ บนเว็บเบราเซอร์ทีเราใช้งานอยู่
โปรแกรมเว็บเบราเซอร์จะทําการตรวจสอบทีฮาร์ดดิสค์ ว่ามีไฟล์ Cookie ที เว็บไซต์นันเคยเก็บไว้หรือไม่ ถ้าพบไฟล์ Cookie ทีเว็บไซต์นันสร้างไว้ โปรแกรมเว็บ เบราเซอร์จะทําการส่งข้อมูลทีอยู่ในไฟล์ Cookie นั้นไปยังเว็บไซต์นั้นด้วย 
ถ้าหากไม่มีไฟล์ Cookie ส่งไปให้กับเว็บไซต์
เว็บไซต์นันก็จะทราบว่าผู้ใช้พึงเคยเข้ามาใช้งานเว็บไซต์เป็นครั้งแรก เว็บไซต์ก็จะสร้างแฟ้มข้อมูลชนิด text ซึ่งก็คือ Cookie นั้นเอง ซึ่งมีข้อมูลหมายเลขที่ถูกกําหนดขึนมาโดยเว็บไซต์และอาจมีข้อมูลอื่นๆ แล้วส่งมาเก็บไว้ทีฮาร์ดดิสค์ของผู้ใช้ในการเข้าใช้งานเว็บไซต์ครังต่อๆไป เว็บไซต์ก็สามารถทีจะทําการเพิมเติมข้อมูลเปลียนแปลงแก้ไขข้อมูลในไฟล์ Cookie นี้ได้

เว็บไซต์ใช้ Cookie เพื่ออะไร
- เพื่อให้ทราบจํานวนผู้ทีเข้ามาใช้งานเว็บไซต์
- สําหรับเว็บไซต์ E-commerce ต่าง ๆ สามารถใช้ cookie เก็บข้อมูลสินค้าทีลูกค้าได้เลือกใส่ตะกร้าไว้แต่ยังไม่ชําระเงินได้

ข้อควรระวังที่เกี่ยวกับ Cookie
- ข้อมูล Cookie อาจถูกลักลอบขโมยข้อมูลส่วนตัวจากบุคคลอืนได้ในระหว่างการถ่ายโอนไฟล์ไปมาระหว่างเครืองผู้ใช้และเว็บไซต์ ซึ่งผู้ใช้ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลต่างๆ แก่เว็บไซต์
- หากเราไม่มันใจในเว็บไซต์ใดๆ ที่ไปเราสามารถทีจะไม่อนุญาตให้มีการสร้างไฟล์ Cookie เก็บไว้ทีฮาร์ดดิสค์ของเราก็ได้ ซึ่งเว็บเบราเซอร์จะแสดงข้อความถามความสมัครใจของเราว่าจะอนุญาตหรือไม่

มาตรการควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ต
ภัยคุกคามอันเกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต
       ปัจจุบันภัยคุกคามอันเกิดจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตมีมากมาย เช่น ภัยจาก เรืองเว็บลามกอนาจาร ปัจจุบันมีความพยายามทีจะแก้ไขปราบปราม การเผยแพร่อย่างต่อเนือง

มาตรการควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ต
       “ผู้ใดประสงค์แจกจ่ายแสดง อวดทําผลิตแก่ประชาชนหรือทําให้เผยแพร่ซึงเอกสาร ภาพระบายสีสิงพิมพ์ แถบบันทึกเสียง บันทึกภาพหรือเกียวเนืองกับสิงพิมพ์ดังกล่าว มีโทษจําคุก ปรับหรือทังจําทังปรับ” ตัวอย่างซอฟต์แวร์ได้แก่ House Keeper เป็นโปรแกรมสําหรับแก้ปัญหา “ภาพลามกอนาจาร
เนื้อหาสาระทีไม่เหมาะสม การใช้เว็บไม่เหมาะไม่ควร ฯลฯ” โดยนําไปติดตังกับเครืองคอมพิวเตอร์ทีบ้าน

คําแนะนําเบืองต้นในการใช้อินเทอร์เน็ต
- ควรตังเครืองคอมพิวเตอร์ไว้ในทีโล่งทีผู้ปกครองสามารถมองเห็นหน้าจอระหว่างทีเด็ก ๆ ใช้งานได้
- ผู้ปกครองเองก็ควรเรียนรู้เพือใช้อินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมด้วย
- มีจิตสํานึกรับผิดชอบและการเอาใจใส่ต่อความถูกต้องเหมาะควร

การยศาสตร์ (Ergonomics)
       คือ การศึกษาการใช้งานเครืองมือเครืองกลต่าง ๆ เกิดขึนมาพร้อม ๆ อุปกรณ์ไฮเทคสมัยใหม่ต่าง ๆ ทังนีเพือลดปัญหาจากการใช้วัตถุเหล่านัน
เช่น การติดตัง และวิธีการใช้งานของคีย์บอร์ด, จอมอนิเตอร์, เม้าส์,เก้าอี, การปรับระดับแสง เป็นต้น

คําแนะนําการใช้งานคีย์บอร์ด
       ควรใช้ถาดเลือนคีย์บอร์ดและมีทีวางเมาส์ไว้ข้าง ๆ ควรตังคีย์ไม่ให้สูงหรือต่าจนเกินไปให้แขนวางในมุมตังฉาก นังโดยไหล่ไม่ห่อ
หากคีย์บอร์ดอยู่ต่ากว่าโต๊ะทีวางจอมอนิเตอร์ให้ปรับคีย์บอร์ดในระดับทีขนานกับพืน ผู้ทีเป็นคนไหล่กว้างควรใช้คีย์บอร์ดแบบแยกไม่ควรลงน้าหนักการพิมพ์แรง ๆ จะทําให้ปวดข้อมือได้ ควรปล่อยให้ข้อมืออยู่ในลักษณะทีเป็นธรรมชาติ ให้ข้อศอกอยู่ในมุมทีเปิด องศาหรือมากกว่า ให้หัวไหล่ผ่อนคลายและข้อศอกอยู่ข้างลําตัวลําตัวของผู้ใช้คีย์บอร์ดควรอยู่ตรงกลางไม่เอียงไปทางซ้ายหรือขวาของ คีย์บอร์ด ไม่วางมือบนทีรองแขน ทําได้เฉพาะตอนพักจริง ๆ ถ้าเป็นไปได้อาจจะหาโปรแกรมพิมพ์ด้วยเสียงมาใช้ ซึ่งขึนกับเทคโนโลยีทีพัฒนาขึนเรือย ๆ

คําแนะนําการใช้จอคอมพิวเตอร์
- ควรติดตังจอมอนิเตอร์ให้อยู่ตรงกลาง
- ควรนังห่างจากจอประมาณ ช่วงแขนจะเป็นการถนอมสายตา
- ตําแหน่งด้านบนของจอควรให้อยู่ในระดับสายตาและให้แหงนหน้าจอขึนเล็กน้อย
- ตรวจไม่ไห้เกิดแสงสะท้อนพร้อมปรับระดับแสงสว่างให้พอดีกับแสงสว่างโดยรอบของห้อง
- ใช้สีและขนาดอักษรให้เห็นได้ชัดเจน
- อย่าจ้องหน้าจอเป็นเวลานานเพราะจะทําให้แสบตา ควรใช้หลัก 20:20:20
- คือหยุดพักสัก 20 วินาที หลังจากทํางาน 20 นาที และมองไปไกล 20 ฟุต จะช่วยให้สายตาได้พักและปรับโฟกัส ป้องกันสายตาสัน
- เคล็ดลับการรักษาความสะอาดหน้าจอจาก ฝุ่นและคราบต่าง ๆ จะทําให้มองเห็นได้ชัดเจน ทังยังเป็นการกระทําทีถูก

คําแนะนําการใช้เมาส์
- อย่าเกร็งข้อมือเพือจับเมาส์จะทําให้เกิดอาการบาดเจ็บทีโพรงกระดูกข้อมือได้
- หากต้องทํางานตลอดวัน การงอข้อมือและกดทับบนโต๊ะ จะทําให้เส้นเอ็นหรือเส้นประสาททีข้อมือเกิดอาการปวดได้
- ในระยะยาวอาจจะเกิดการอักเสบ นําไปสู่การปวด ชา และปวดรุนแรงทีนิวมือได้

คําแนะนําการใช้งานเก้าอี้
- เก้าอีควรมีขนาดพอดีตัวไม่เล็กเกินไป
- สามารถปรับระดับความสูงได้
- เท้าต้องวางขนานกับพืน เวลานังพนักพิงควรราบไปกับหลังไม่ควรนังงอตัว
- ควรนังพิงพนักให้เต็ม
- เบาะเก้าอีไม่ควรแหงนขึนหรือแหงนลง ควรจะขนานกับพื้น
- ท่านังควรเป็นมุม องศา หัวเข่าตังฉากกับพืน ฝ่าเท้าแนบขนานกับพืน
- ควรนังให้ตัวตรง ปรับเก้าอีให้อยู่ในตําแหน่งทีรู้สึกสบายเพือให้ไม่ปวดหลัง
- ควรเดินไปทํากิจกรรมอืน ๆ บ้าน เพือป้องกันการเมือยล้า

คําแนะนําการใช้งานเกียวกับแสง
- ควรใช้โคมไฟบนโต๊ะทํางานสีขาวทีมีความสว่างเพียงพอต่อการมองเห็น
- ตําแหน่งของแสงไฟควรจะปรับขึนลงได้
- การใช้ผ้าม่านจะช่วยควบคุมแสงจากภายนอก
- หลอดไฟทีใช้ก็ควรให้แสงสว่างในโทนเดียวกันในห้องทีผนังมีสีไม่ฉูดฉาดเกินไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น