วันเสาร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 6 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื่องต้น

ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
       เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เกิดจากการนําคอมพิวเตอร์ มาเชือมต่อเข้าด้วยกัน โดยใช้สือนําสัญญาณข้อมูล และอุปกรณ์เครือข่ายที่จําเป็น เพือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในเครือข่ายร่วมกัน เช่น ใช้เครืองพิมพ์ร่วมกัน การใช้โปรแกรมประยุกต์ร่วมกัน หรือ การใช้ข้อมูลร่วมกัน

การเชื่อมต่อของเครื่อข่าย แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การเชื่อมต่อทางกายภาพ
    - การเชื่อมต่อผ่านระบบโทรศัพท์
    - การเชื่อต่อผ่านระบบ LAN
    - การเชื่อมต่อผ่านระบบ WAN
2. การเชื่อมต่อทางซอฟแวร์ (ในบทถัดไป)
    - การใช้โพรโตคอล (protocol) ต่าง ๆ เช่น TCP/IP เป็นต้น

การเชื่อมต่อทางกายภาย (Physical Connection)
       การเชื่อมต่อทางกายภาพ สามารถทําได้หลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การเชือมต่อคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตามบ้าน
เข้ากับเครือข่ายผ่านระบบโทรศัพท์ ไปจนถึงการเชือมต่อเป็นเครือข่ายท้องถินความเร็วสูง

การเชื่อมต่อผ่านระบบโทรศัพท์
       การเชื่อมต่อเครือข่ายทางกายภาพ ในรูปแบบทีง่ายทีสุดคือ การเชื่อมต่อเครืองคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตามบ้าน
เข้ากับเครือข่ายของผู้ให้บริการเครือข่ายผ่านระบบโทรศัพท์ที่มี่อยู่แล้ว เนื่องจากระบบโทรศัพท์ ได้รับการออกแบบมาสําหรับเสียงพูด ซึ่งเป็นสัญญาณ Analog จึงไม่เหมาะสําหรับคอมพิวเตอร์ทีเป็นสัญญาน Digital ดังนั้นจึงมีความจําเป็นทีจะต้องใช้อุปกรณ์ สําหรับแปลงสัญญาณ Digital เป็น Analog เพือใช้ในการส่งข้อมูล และแปลงสัญญาณ Analog เป็น Digital เพื่อใช้ในการรับข้อมูล อุปกรณ์ชินนีมีชือเรียกว่า โมเด็ม (Modem)

โมเด็ม (Modem) มี 2 ชนิดได้แก่
       1. สําหรับติดตังภายใน (Internal Modem) จะมีลักษณะเป็นแผงวงจรสําหรับติดตังภายในเครืองคอมพิวเตอร์
       2. สําหรับติดตังภายนอก (External Modem) จะมีลักษณะเป็นเครืองสําเร็จรูป สําหรับเชือมต่อกับช่องสือสารแบบ   อนุกรม
       - ความเร็วสูงสุดของโมเด็มในปัจจุบัน = Kbps
       - ความเร็วในการเชือมต่อของโมเด็ม = ความเร็วสูงสุดของโมเด็มทีมีประสิทธิภาพต่ากว่า
       - ความเร็วในการสือสารจริง อาจไม่เท่ากับความเร็วในการเชือมต่อ

การเชื่อมต่อเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น
       เนื่องจากการเชื่อมต่อเครืองคอมพิวเตอร์ เข้ากับระบบโทรศัพท์นั้น เป็นการเชื่อมต่อแบบครังคราว และมีความเร็วไม่สูงมากนักในกรณีที่ต้องการให้เชื่อมต่อ กับเครือข่ายตลอดเวลาและต้องการความเร็วทีสูงขึ้น จําเป็นต้องใช้วงจรเชื่อมต่อ
เครือข่ายทีได้รับการออกแบบมาเฉพาะ สําหรับวงจรเชือมต่อเครือข่าย ที่มีการใช้งานมากทีสุดคือ Ethernet โดยมีความเร็วในการสือสารข้อมูลตังแต่ 10Mbps ไปจนถึง Gbps ระยะทางตังแต่ เมตร จนถึงกิโลเมตร ขึ้นอยู่กับชนิดและความเร็วของวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย รวมทังชนิดของสายนําสัญญาณ

อุปกรณ์ที่สําคัญ สําหรับ เครือข่ายประเภทนี้ ได้แก่
       - LAN Card
สายนําสัญญาณชนิดต่างๆ
       - Coaxial
       - Fiber Optic
       - Unshielded Twisted Pair

การเชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่นระยะไกล
       เมื่อมีจํานวนเครือข่ายท้องถิน (LAN) หลายเครือข่ายและมีความต้องการทีจะ สือสารข้อมูลระหว่างเครือข่าย
เราจึงเชือมต่อเครือข่ายท้องถินเหล่านีในลักษณะ จุดต่อจุด (Point to Point) การเชือมต่อประเภทนีจําเป็นต้องใช้คู่สายเช่าจากหน่วยงานทีให้บริการโทรศัพท์ มีความเร็วมากกว่าการใช้โมเด็มธรรมดา เริมตังแต่ Kbps ไปถึง Mbps ทุกเครืองในเครือข่ายต้องใช้สายสือสารร่วมกันเพือติดต่อกับเครืองทีอยู่ต่างเครือข่าย ความเร็วในการเชือมต่อแปรเปลียนไปตามปริมาณผู้ใช้ในขณะใดๆ เครือข่ายท้องถินแต่ละเครือข่ายจะต้องมีอุปกรณ์กําหนดเส้นทาง (Router หรือ Gateway) เพื่อเชือมต่อกับ Gateway เครือข่ายอืน Gateway ประจําเครือข่ายเรียกว่า Default Gateway

เครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูง
        การเชือมต่ออินเตอร์เน็ท ด้วยโมเด็มและสายโทรศัพท์นั้นมีข้อจํากัดในด้านความเร็ว เทคโนโลยีทีให้ความเร็วดีกว่าและเสียค่าใช้จ่ายไม่สูงนัก เช่น
       - Asymmetrical Digital Subscriber Line (ADSL)
       - Symmetric Digital Subscriber Line (SDSL)
       - High-bit-rate Digital Subscriber Line (HDSL)
       - Very-high-bit-rate Digital Subscriber Line (VDSL)
       ADSL เป็นเทคโนโลยีทีสนับสนุนความเร็วในการเชือมต่อเร็วสูง โดยมีความเร็วขาขึน (Upstream : จากโมเด็มของผู้ใช้ไปยังโมเด็มฝั่ง ISP) กับความเร็วขาลง (Downstream : จากโมเด็มฝั่ง ISP มายังโมเด็มของผู้ใช้) ไม่เท่ากัน
       SDSL เป็นเทคโนโลยีตระกูล DSL เช่นเดียวกันกับ ADSL แตกต่างกันตรงที ความเร็วขาขึน แล้ว ความเร็วขาลง ของ SDSL จะเท่ากัน เหมาะสมกับการนํามาใช้ในงานด้านธุรกิจ
       HDSL เป็นเทคโนโลยีทีมาแทนสายเช่า ความเร็ว 1.544 Mbps ซึ่งเดิมมีขีดจํากัดในด้านระยะทางเพียง 1 กิโลเมตร เทคโนโลยี HDSL ทําให้ส่งสัญญาณได้ไกลมากขึ้น ถึง 3.6 กิโลเมตรด้วยความเร็ว2  Mbps
       VDSL เป็นเทคโนโลยีทีทํางาน คล้ายกับเทคโนโลยี ADSL สามารถใช้งานได้กับสายนําสัญญาณหลายชนิด เช่น สายแกนร่วม (Coax) สายใยแก้ว (Fiber-optic) สายตีเกลียวคู่ (Twisted-pair) ในระยะระหว่าง 300 ถึง 1,800 เมตร โดยมีความเร็วขาลง 50-55 Mbps และความเร็วขาขึ้น 1.5 - 2.5 Mbps

ระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยบูรพา มีวิทยาเขตสามแห่ง 3 คือ
        - มหาวิทยาลัยบูรพาเขตบางแสน
        - มหาวิทยาลัยบูรพาเขตจันทบุรี
        - มหาวิทยาลัยบูรพาเขตสระแก้ว
ซึ่งแต่ละวิทยาเขตมีการเชือมต่อกันแบบเครือข่ายท้องถิน (LAN) และเพื่อให้แต่ละวิทยาเขต สามารถเชือมต่อกันได้
จําเป็นต้องเช่าคู่สายเพือเชือม เครือข่ายท้องถินแตะละท้องถินเข้าด้วยกัน (WAN) โดยมี วิทยาเขตบางแสนเป็นศูนย์กลาง รวมเป็นเครือข่าย BuuNet ทําให้สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ดังต่อไปนี้
       - การสืบค้นข้อมูลวิชาการ จากฐานข้อมูล ด้วยบริการ (WWW: World Wide Web)
       - การเรียนการสอนทางไกล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น